เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน

สนทนาภาษาปืน => หลังแนวยิง => ข้อความที่เริ่มโดย: NAPALM ที่ สิงหาคม 06, 2008, 11:22:24 PM



หัวข้อ: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: NAPALM ที่ สิงหาคม 06, 2008, 11:22:24 PM
วันนี้มีข่าว  ฮ. ตกอีกแล้วที่ยะลา   จนท. ๑๐  ท่านเสียชีวิต

๓ เหตุการณ์ติดต่อกันกับเหตุ  ฮ.  ตกใน  จ. ยะลา     นำมาซึ่งข้อน่าวิเคราะห์ว่าเหตุใดจึงเกิดเหตุเช่นนี้ซ้ำครั้ง   ถี่กระชั้นชิด

จนน่ากังวล   มาตราฐานการบิน    สภาพของเครื่องที่ใช้ปฎิบัติงาน   หรืออะไรกัน  ทำให้เราท่านได้รับข่าวที่ไม่อยากรับเช่นนี้

หรือความจริงมันมีอะไรที่เราท่านคิดไม่ถึง...........


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: สามก๊ง รักในหลวง ที่ สิงหาคม 06, 2008, 11:25:43 PM
อยากทราบเหมือบกันครับ
ท่านผู้รู้ชช่วยที ::014::


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: lex ที่ สิงหาคม 07, 2008, 07:16:11 AM
สภาพอากาศครับ


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: น้าพงษ์...รักในหลวง ที่ สิงหาคม 07, 2008, 07:19:35 AM
..ตกอีกแล้วหรือ.... ::004::


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: bigbang ที่ สิงหาคม 07, 2008, 07:20:31 AM
อายุการใช้งาน น่าจะมีส่วนด้วย


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: ฝุ่น-รักในหลวง ที่ สิงหาคม 07, 2008, 07:49:12 AM
รอท่านผู้รู้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมครับ  ::014::


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: flyingkob-รักในหลวง ที่ สิงหาคม 07, 2008, 07:53:09 AM
ฮ. UH1-H หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า Huey กองทัพเรารับมาจากสหรัฐฯ ตั้งแต่สมัยสงครามเวียดนาม แบบให้ปล่าวซึ่ง ฮ.เหล่านี้ยังเป็นทรัพย์สมบัติของสหรัฐฯ แต่ช่างมันเถอะ เมื่อปี 2547 ถ้าจำไม่ผิดสมัยทักษิณ1 รมต.กลาโหมอนุมัติให้ ทอ.จัดการซ่อมบำรุงใหญ่กับ ฮ.แบบนี้จำนวน 12 เครื่องในวงเงินเกือบพันล้าน แต่ในขณะเดียวกัน ทบ.เสนอเหมือนกันในวงเงินเท่ากัน แต่ได้ ฮ.ที่ทำการ modify เพิ่มอีกหนึ่งฝูง ทอ.ไม่ทำต้องการซ่อมอย่างเดียว ดดยเปิดประมูล บริษัทฯที่ได้เป็นตัวแทนของ IAI ทำการซ่อมบำรุงที่ลพบุรีเพียงแค่สองเครื่องส่วนที่เหลือ ทอ.ซ่อมเองโดยมีเจ้าหน้าที่ยิวคอยกำกับดูแล ทั้งนี้ตามคำอ้างคือเพื่อที่ช่างของทอ.ตะได้มีประสพการณ์ ส่วนเครื่องยนต์ส่งไปทำที่สิงค์โปร์ งานนี้มีการสอบสวนเพราะมีผู้ร้องเรียนไปยังสภาฯ ผลออกมา......คนที่เกี่ยวข้องเป็นใหญ่เป็นโตกันหมด เพราะสภาฯไม่มีอำนาจในการตรวจสอบเอกสาร...ขอไปเท่าไหร่ไม่เคยได้... ฉะนั้นลองคิดดูเอาเองว่ามันเป็นอย่างไร
ปล.เมื่อหลายปีก่อนมีเครื่องขับไล่ตกที่อุดรฯ นักบินตาย เพราะตัวจุดระเบิดเครื่องดีดตัว "หมดอายุ" และไม่ทำงาน ข้ออ้างคือ..ไม่มีงบประมาณครับ
เครื่องบินเก่าหรือใหม่ ถ้าได้รับการซ่อมบำรุงตามระยะเวลาอย่างเคร่งครัด โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุจะลดลงมาก ทำนองเดียวกัน นักบินจะต้องได้รับการฝึกฝนตลอดเวลา รวมทั้งการฝึกทบทวนในส่วนของสถาณการณ์ฉุกเฉินทุกๆหกเดือน
บ้านเรานั้นไม่เคยให้ความสำคัญต่อชีวิตนักบินมาตลอดโดยเฉพาะนักบินทหาร ซึ่งเป็นความกดดันลึกๆของนักบินมาตลอด กองทัพฯควรให้ความสำคัญกับบุคคลากรด้านนี้ให้มากหน่อยครับ ไม่ใช่เงินอย่างเดียวที่ให้หรอก ดูอย่างกองทัพฯสิงค์โปร์นั้นดูแลนักบินอย่างดีแทบจะไม่มีใครลาออกไปอยู่สายการบิน


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ สิงหาคม 07, 2008, 08:19:19 AM
บ้านเรานั้นไม่เคยให้ความสำคัญต่อชีวิตนักบินมาตลอดโดยเฉพาะนักบินทหาร ซึ่งเป็นความกดดันลึกๆของนักบินมาตลอด กองทัพฯควรให้ความสำคัญกับบุคคลากรด้านนี้ให้มากหน่อยครับ ไม่ใช่เงินอย่างเดียวที่ให้หรอก ดูอย่างกองทัพฯสิงค์โปร์นั้นดูแลนักบินอย่างดีแทบจะไม่มีใครลาออกไปอยู่สายการบิน

ผมว่าการเปรียบเทียบมันมีมากกว่า 1 วิธีครับ นอกจากการเปรียบเทียบกับ "ผู้เหนือกว่า" บางทีก็ควรเปรียบเทียบกับ "ผู้ด้อยกว่า" ด้วยครับ  แล้วถ้าจะเปรียบเทียบก็ควรเปรียบเทียบในทุก ๆ เงื่อนไขด้วย ตัวอย่างเช่น นักบินของ ทอ.อเมริกัน ได้รับเงินค่าฝ่าอันตรายไม่มาก แล้วพอเลิกบินไปทำงานนั่งโต๊ะ เงินเพิ่มทั้งหลายก็ เลิกได้รับ ทอ.สิงคโปร์ก็อาจจะเป็นแบบนี้เหมือนกันนะครับ

ขณะที่ นักบินของ ทอ.ไทย เห็นน้อง ๆ ที่ผมรู้จักที่ไม่ได้เป็นนักบินบอกว่า รับกันไปจนเกษียณ ด้วยการเขียนระเบียบให้มาบินกันคนละสิบชั่วโมงสิบสองชั่วโมง แล้วรับเงินเพิ่มเหล่านั้น

พ๊อยท์ของผมคือ ถึง ทอ.ไทยจะดูแลนักบินได้ไม่ดีเท่า ทอ.สิงคโปร์ แต่ ทอ.ไทยดูแลนักบินดีกว่า ทหารเหล่าอื่น ๆ ไม่ใช่เหรอครับ <- - - น้อง ๆ เหล่านั่นบอกมาเหมือนกันครับ


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: flyingkob-รักในหลวง ที่ สิงหาคม 07, 2008, 09:00:54 AM
บ้านเรานั้นไม่เคยให้ความสำคัญต่อชีวิตนักบินมาตลอดโดยเฉพาะนักบินทหาร ซึ่งเป็นความกดดันลึกๆของนักบินมาตลอด กองทัพฯควรให้ความสำคัญกับบุคคลากรด้านนี้ให้มากหน่อยครับ ไม่ใช่เงินอย่างเดียวที่ให้หรอก ดูอย่างกองทัพฯสิงค์โปร์นั้นดูแลนักบินอย่างดีแทบจะไม่มีใครลาออกไปอยู่สายการบิน

ผมว่าการเปรียบเทียบมันมีมากกว่า 1 วิธีครับ นอกจากการเปรียบเทียบกับ "ผู้เหนือกว่า" บางทีก็ควรเปรียบเทียบกับ "ผู้ด้อยกว่า" ด้วยครับ  แล้วถ้าจะเปรียบเทียบก็ควรเปรียบเทียบในทุก ๆ เงื่อนไขด้วย ตัวอย่างเช่น นักบินของ ทอ.อเมริกัน ได้รับเงินค่าฝ่าอันตรายไม่มาก แล้วพอเลิกบินไปทำงานนั่งโต๊ะ เงินเพิ่มทั้งหลายก็ เลิกได้รับ ทอ.สิงคโปร์ก็อาจจะเป็นแบบนี้เหมือนกันนะครับ

ขณะที่ นักบินของ ทอ.ไทย เห็นน้อง ๆ ที่ผมรู้จักที่ไม่ได้เป็นนักบินบอกว่า รับกันไปจนเกษียณ ด้วยการเขียนระเบียบให้มาบินกันคนละสิบชั่วโมงสิบสองชั่วโมง แล้วรับเงินเพิ่มเหล่านั้น

พ๊อยท์ของผมคือ ถึง ทอ.ไทยจะดูแลนักบินได้ไม่ดีเท่า ทอ.สิงคโปร์ แต่ ทอ.ไทยดูแลนักบินดีกว่า ทหารเหล่าอื่น ๆ ไม่ใช่เหรอครับ <- - - น้อง ๆ เหล่านั่นบอกมาเหมือนกันครับ

ใช่ครับเพราะ ทอ.หน่วยหลักคือนักบิน ทบ.คาดว่าทหารม้า ส่วนทร.คือกัปตันเรือ
ที่เขียนมาว่าบ้านเราไม่ได้ให้ความสำคัญกับชีวิตนักบินเท่าไหร่นั้น ส่วนหนึ่งคือการดูแลนักบิน แต่ส่วนที่สำคัญคือการฝึกนักบิน ความสมควรเดินอากาศของเตรื่องบินที่มีอยุ่กับจำนวนนักบินประจำฝูงมันสัมพันธ์กันหรือไม่ และการฝึกนั้นมีการฝึกกันอย่างไรบ้าง ฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินเมื่อเข้าสภาพอากาศไม่ดีนั้นทำการฝึกบ่อยแค่ไหน การฝึกจำลองสถาณการณ์ฉุกเฉินไม่ว่าจะเป็นเครื่องยนต์ดับ เครื่องยนต์ไฟไหม้หรือเครื่องยนต์หลุด ฝึกกันปีละกี่ครั้ง สิ่งต่างๆเหล่านี้มันมาจากชีวิตจริงครับ ยิ่งฝึกมากเมื่อเกิดสถานณ์การคับขันสิ่งที่ฝึกมาเป็นสิ่งที่ทำให้เราและผู้โดยสารรอดตาย ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำไมนักบินต้องได้รับการฝึกฝนตลอดเวลาจนกว่าจะเลิกบิน


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ สิงหาคม 07, 2008, 11:49:54 AM
บ้านเรานั้นไม่เคยให้ความสำคัญต่อชีวิตนักบินมาตลอดโดยเฉพาะนักบินทหาร ซึ่งเป็นความกดดันลึกๆของนักบินมาตลอด กองทัพฯควรให้ความสำคัญกับบุคคลากรด้านนี้ให้มากหน่อยครับ ไม่ใช่เงินอย่างเดียวที่ให้หรอก ดูอย่างกองทัพฯสิงค์โปร์นั้นดูแลนักบินอย่างดีแทบจะไม่มีใครลาออกไปอยู่สายการบิน

ผมว่าการเปรียบเทียบมันมีมากกว่า 1 วิธีครับ นอกจากการเปรียบเทียบกับ "ผู้เหนือกว่า" บางทีก็ควรเปรียบเทียบกับ "ผู้ด้อยกว่า" ด้วยครับ  แล้วถ้าจะเปรียบเทียบก็ควรเปรียบเทียบในทุก ๆ เงื่อนไขด้วย ตัวอย่างเช่น นักบินของ ทอ.อเมริกัน ได้รับเงินค่าฝ่าอันตรายไม่มาก แล้วพอเลิกบินไปทำงานนั่งโต๊ะ เงินเพิ่มทั้งหลายก็ เลิกได้รับ ทอ.สิงคโปร์ก็อาจจะเป็นแบบนี้เหมือนกันนะครับ

ขณะที่ นักบินของ ทอ.ไทย เห็นน้อง ๆ ที่ผมรู้จักที่ไม่ได้เป็นนักบินบอกว่า รับกันไปจนเกษียณ ด้วยการเขียนระเบียบให้มาบินกันคนละสิบชั่วโมงสิบสองชั่วโมง แล้วรับเงินเพิ่มเหล่านั้น

พ๊อยท์ของผมคือ ถึง ทอ.ไทยจะดูแลนักบินได้ไม่ดีเท่า ทอ.สิงคโปร์ แต่ ทอ.ไทยดูแลนักบินดีกว่า ทหารเหล่าอื่น ๆ ไม่ใช่เหรอครับ <- - - น้อง ๆ เหล่านั่นบอกมาเหมือนกันครับ

ใช่ครับเพราะ ทอ.หน่วยหลักคือนักบิน ทบ.คาดว่าทหารม้า ส่วนทร.คือกัปตันเรือ
ที่เขียนมาว่าบ้านเราไม่ได้ให้ความสำคัญกับชีวิตนักบินเท่าไหร่นั้น ส่วนหนึ่งคือการดูแลนักบิน แต่ส่วนที่สำคัญคือการฝึกนักบิน ความสมควรเดินอากาศของเตรื่องบินที่มีอยุ่กับจำนวนนักบินประจำฝูงมันสัมพันธ์กันหรือไม่ และการฝึกนั้นมีการฝึกกันอย่างไรบ้าง ฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินเมื่อเข้าสภาพอากาศไม่ดีนั้นทำการฝึกบ่อยแค่ไหน การฝึกจำลองสถาณการณ์ฉุกเฉินไม่ว่าจะเป็นเครื่องยนต์ดับ เครื่องยนต์ไฟไหม้หรือเครื่องยนต์หลุด ฝึกกันปีละกี่ครั้ง สิ่งต่างๆเหล่านี้มันมาจากชีวิตจริงครับ ยิ่งฝึกมากเมื่อเกิดสถานณ์การคับขันสิ่งที่ฝึกมาเป็นสิ่งที่ทำให้เราและผู้โดยสารรอดตาย ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำไมนักบินต้องได้รับการฝึกฝนตลอดเวลาจนกว่าจะเลิกบิน

งั้นคงต้องให้ทหารบกมาให้ข้อมูลละกันนะครับว่า ทหารม้า มีเงินเพิ่มค่าฝ่าอันตรายไหม ให้ทหารเรือมาบอกอีกเหมือนกันว่ากัปตันเรือมีเงินเพิ่มค่าอะไรบ้างไหม นอกเหนือจากเงินประจำตำแหน่ง

เรื่องฝึกเรื่องอะไรที่กล่าวมามันคงไม่เกี่ยวหรอกครับ ที่ท่านว่ามาทั้งหมดมันคนละง่ามกับที่ผมพยายามจะบอกครับ ซึ่งก็คือ เวลาเปรียบเทียบ มันเปรียบเทียบได้มากกว่าหนึ่งด้านน่ะครับ โดยเฉพาะเรื่อง "ผลประโยชน์" จากสัมมาชีพ จะตั้งหน้าตั้งตาเอาไปเทียบกับ "ผู้ที่เหนือกว่า" อย่างเดียวคงไม่ได้ ต้องดูด้านของ "ผู้ที่ด้อยกว่า" ด้วยน่ะครับ

แล้วถึงผมจะไม่ได้เป็นทหาร ผมก็ยกย่อง ชื่นชม คนที่มาเป็นทหารนั้นคือผู้ยอมเสียสละเหมือนกันทุก ๆ คน

ถ้าทหารนักบินมีทัศนคติแบบนี้ ทั้ง ๆ ที่ได้เยอะกว่าคนอื่นตั้งเยอะแล้ว ยังเห็นว่าไม่ดีพอ ผมว่าน่าเป็นห่วงครับ


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: HogHeaven ที่ สิงหาคม 07, 2008, 01:15:50 PM
บ้านเรานั้นไม่เคยให้ความสำคัญต่อชีวิตนักบินมาตลอดโดยเฉพาะนักบินทหาร ซึ่งเป็นความกดดันลึกๆของนักบินมาตลอด กองทัพฯควรให้ความสำคัญกับบุคคลากรด้านนี้ให้มากหน่อยครับ ไม่ใช่เงินอย่างเดียวที่ให้หรอก ดูอย่างกองทัพฯสิงค์โปร์นั้นดูแลนักบินอย่างดีแทบจะไม่มีใครลาออกไปอยู่สายการบิน

ผมว่าการเปรียบเทียบมันมีมากกว่า 1 วิธีครับ นอกจากการเปรียบเทียบกับ "ผู้เหนือกว่า" บางทีก็ควรเปรียบเทียบกับ "ผู้ด้อยกว่า" ด้วยครับ  แล้วถ้าจะเปรียบเทียบก็ควรเปรียบเทียบในทุก ๆ เงื่อนไขด้วย ตัวอย่างเช่น นักบินของ ทอ.อเมริกัน ได้รับเงินค่าฝ่าอันตรายไม่มาก แล้วพอเลิกบินไปทำงานนั่งโต๊ะ เงินเพิ่มทั้งหลายก็ เลิกได้รับ ทอ.สิงคโปร์ก็อาจจะเป็นแบบนี้เหมือนกันนะครับ

ขณะที่ นักบินของ ทอ.ไทย เห็นน้อง ๆ ที่ผมรู้จักที่ไม่ได้เป็นนักบินบอกว่า รับกันไปจนเกษียณ ด้วยการเขียนระเบียบให้มาบินกันคนละสิบชั่วโมงสิบสองชั่วโมง แล้วรับเงินเพิ่มเหล่านั้น

พ๊อยท์ของผมคือ ถึง ทอ.ไทยจะดูแลนักบินได้ไม่ดีเท่า ทอ.สิงคโปร์ แต่ ทอ.ไทยดูแลนักบินดีกว่า ทหารเหล่าอื่น ๆ ไม่ใช่เหรอครับ <- - - น้อง ๆ เหล่านั่นบอกมาเหมือนกันครับ

ใช่ครับเพราะ ทอ.หน่วยหลักคือนักบิน ทบ.คาดว่าทหารม้า ส่วนทร.คือกัปตันเรือ
ที่เขียนมาว่าบ้านเราไม่ได้ให้ความสำคัญกับชีวิตนักบินเท่าไหร่นั้น ส่วนหนึ่งคือการดูแลนักบิน แต่ส่วนที่สำคัญคือการฝึกนักบิน ความสมควรเดินอากาศของเตรื่องบินที่มีอยุ่กับจำนวนนักบินประจำฝูงมันสัมพันธ์กันหรือไม่ และการฝึกนั้นมีการฝึกกันอย่างไรบ้าง ฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินเมื่อเข้าสภาพอากาศไม่ดีนั้นทำการฝึกบ่อยแค่ไหน การฝึกจำลองสถาณการณ์ฉุกเฉินไม่ว่าจะเป็นเครื่องยนต์ดับ เครื่องยนต์ไฟไหม้หรือเครื่องยนต์หลุด ฝึกกันปีละกี่ครั้ง สิ่งต่างๆเหล่านี้มันมาจากชีวิตจริงครับ ยิ่งฝึกมากเมื่อเกิดสถานณ์การคับขันสิ่งที่ฝึกมาเป็นสิ่งที่ทำให้เราและผู้โดยสารรอดตาย ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำไมนักบินต้องได้รับการฝึกฝนตลอดเวลาจนกว่าจะเลิกบิน

งั้นคงต้องให้ทหารบกมาให้ข้อมูลละกันนะครับว่า ทหารม้า มีเงินเพิ่มค่าฝ่าอันตรายไหม ให้ทหารเรือมาบอกอีกเหมือนกันว่ากัปตันเรือมีเงินเพิ่มค่าอะไรบ้างไหม นอกเหนือจากเงินประจำตำแหน่ง

เรื่องฝึกเรื่องอะไรที่กล่าวมามันคงไม่เกี่ยวหรอกครับ ที่ท่านว่ามาทั้งหมดมันคนละง่ามกับที่ผมพยายามจะบอกครับ ซึ่งก็คือ เวลาเปรียบเทียบ มันเปรียบเทียบได้มากกว่าหนึ่งด้านน่ะครับ โดยเฉพาะเรื่อง "ผลประโยชน์" จากสัมมาชีพ จะตั้งหน้าตั้งตาเอาไปเทียบกับ "ผู้ที่เหนือกว่า" อย่างเดียวคงไม่ได้ ต้องดูด้านของ "ผู้ที่ด้อยกว่า" ด้วยน่ะครับ

แล้วถึงผมจะไม่ได้เป็นทหาร ผมก็ยกย่อง ชื่นชม คนที่มาเป็นทหารนั้นคือผู้ยอมเสียสละเหมือนกันทุก ๆ คน

ถ้าทหารนักบินมีทัศนคติแบบนี้ ทั้ง ๆ ที่ได้เยอะกว่าคนอื่นตั้งเยอะแล้ว ยังเห็นว่าไม่ดีพอ ผมว่าน่าเป็นห่วงครับ
ในเมื่อมันเรียกว่าเงินค่าฝ่าอันตราย  ชื่อมันก็บอกอยู่แล้วครับว่าใครที่ควรจะได้บ้าง และใครที่ไม่ควรจะได้....ผมได้ยินคำเสียดสีแบบนี้มานานแล้วครับจากเพื่อนๆ เวลาที่เค้าเห็น Slip เงินเดือนของนักบิน แต่พอมีเหตุการณ์อากาศยานตกทีไร ทุกคนที่ไม่ได้เป็นนักบินจะพูดเป็นเสียงเดียวกันครับ ว่าให้ Ku เดือนละแสนก็ไม่อยากมาเป็นนักบิน ทำหน้าที่อื่นที่เท้าติดพื้นดีกว่า คิดดูเองแล้วกันว่าราชการที่ว่าเหนียวเรื่องเงินสุดๆ ยังให้ค่าตอบแทนนักบินมากๆ เพราะอะไร ถ้ามันไม่เสี่ยง...ผมมีประสบการณ์ที่เคยเจอมาครับ ขนาดเครื่องที่ฝูงผม Grounded (สถานภาพไม่สามารถทำการบินได้) ทั้งฝูง แต่เมื่อมีภารกิจเอาหน้า เพื่อสนองความต้องการของผู้บังคับบัญชาชั้นสูง นายท่านก็สามารถสั่งให้เครื่องทั้งหมดกลับมาบินได้ (โดยที่ไม่ได้มีการแก้ไขอะไรกับตัวเครื่องเลย)


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: มะขิ่น ที่ สิงหาคม 07, 2008, 01:29:29 PM
หน่วยรบหลักของ ทบ. คือ กองพลทหารราบครับ

เหล่าหลัก ไม่ใช่เหล่าใดทั้งนั้น ........... แต่ทหาราบมีมากกว่า 40%


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: HogHeaven ที่ สิงหาคม 07, 2008, 01:41:26 PM
ขอแสดงความเสียใจกับครอบครัวผู้เสียชีวิตทุกท่าน ขอให้ดวงวิญญาณของทุกท่านไปสู่สุขติครับ


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ สิงหาคม 07, 2008, 02:34:42 PM
บ้านเรานั้นไม่เคยให้ความสำคัญต่อชีวิตนักบินมาตลอดโดยเฉพาะนักบินทหาร ซึ่งเป็นความกดดันลึกๆของนักบินมาตลอด กองทัพฯควรให้ความสำคัญกับบุคคลากรด้านนี้ให้มากหน่อยครับ ไม่ใช่เงินอย่างเดียวที่ให้หรอก ดูอย่างกองทัพฯสิงค์โปร์นั้นดูแลนักบินอย่างดีแทบจะไม่มีใครลาออกไปอยู่สายการบิน

ผมว่าการเปรียบเทียบมันมีมากกว่า 1 วิธีครับ นอกจากการเปรียบเทียบกับ "ผู้เหนือกว่า" บางทีก็ควรเปรียบเทียบกับ "ผู้ด้อยกว่า" ด้วยครับ  แล้วถ้าจะเปรียบเทียบก็ควรเปรียบเทียบในทุก ๆ เงื่อนไขด้วย ตัวอย่างเช่น นักบินของ ทอ.อเมริกัน ได้รับเงินค่าฝ่าอันตรายไม่มาก แล้วพอเลิกบินไปทำงานนั่งโต๊ะ เงินเพิ่มทั้งหลายก็ เลิกได้รับ ทอ.สิงคโปร์ก็อาจจะเป็นแบบนี้เหมือนกันนะครับ

ขณะที่ นักบินของ ทอ.ไทย เห็นน้อง ๆ ที่ผมรู้จักที่ไม่ได้เป็นนักบินบอกว่า รับกันไปจนเกษียณ ด้วยการเขียนระเบียบให้มาบินกันคนละสิบชั่วโมงสิบสองชั่วโมง แล้วรับเงินเพิ่มเหล่านั้น

พ๊อยท์ของผมคือ ถึง ทอ.ไทยจะดูแลนักบินได้ไม่ดีเท่า ทอ.สิงคโปร์ แต่ ทอ.ไทยดูแลนักบินดีกว่า ทหารเหล่าอื่น ๆ ไม่ใช่เหรอครับ <- - - น้อง ๆ เหล่านั่นบอกมาเหมือนกันครับ

ใช่ครับเพราะ ทอ.หน่วยหลักคือนักบิน ทบ.คาดว่าทหารม้า ส่วนทร.คือกัปตันเรือ
ที่เขียนมาว่าบ้านเราไม่ได้ให้ความสำคัญกับชีวิตนักบินเท่าไหร่นั้น ส่วนหนึ่งคือการดูแลนักบิน แต่ส่วนที่สำคัญคือการฝึกนักบิน ความสมควรเดินอากาศของเตรื่องบินที่มีอยุ่กับจำนวนนักบินประจำฝูงมันสัมพันธ์กันหรือไม่ และการฝึกนั้นมีการฝึกกันอย่างไรบ้าง ฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินเมื่อเข้าสภาพอากาศไม่ดีนั้นทำการฝึกบ่อยแค่ไหน การฝึกจำลองสถาณการณ์ฉุกเฉินไม่ว่าจะเป็นเครื่องยนต์ดับ เครื่องยนต์ไฟไหม้หรือเครื่องยนต์หลุด ฝึกกันปีละกี่ครั้ง สิ่งต่างๆเหล่านี้มันมาจากชีวิตจริงครับ ยิ่งฝึกมากเมื่อเกิดสถานณ์การคับขันสิ่งที่ฝึกมาเป็นสิ่งที่ทำให้เราและผู้โดยสารรอดตาย ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำไมนักบินต้องได้รับการฝึกฝนตลอดเวลาจนกว่าจะเลิกบิน

งั้นคงต้องให้ทหารบกมาให้ข้อมูลละกันนะครับว่า ทหารม้า มีเงินเพิ่มค่าฝ่าอันตรายไหม ให้ทหารเรือมาบอกอีกเหมือนกันว่ากัปตันเรือมีเงินเพิ่มค่าอะไรบ้างไหม นอกเหนือจากเงินประจำตำแหน่ง

เรื่องฝึกเรื่องอะไรที่กล่าวมามันคงไม่เกี่ยวหรอกครับ ที่ท่านว่ามาทั้งหมดมันคนละง่ามกับที่ผมพยายามจะบอกครับ ซึ่งก็คือ เวลาเปรียบเทียบ มันเปรียบเทียบได้มากกว่าหนึ่งด้านน่ะครับ โดยเฉพาะเรื่อง "ผลประโยชน์" จากสัมมาชีพ จะตั้งหน้าตั้งตาเอาไปเทียบกับ "ผู้ที่เหนือกว่า" อย่างเดียวคงไม่ได้ ต้องดูด้านของ "ผู้ที่ด้อยกว่า" ด้วยน่ะครับ

แล้วถึงผมจะไม่ได้เป็นทหาร ผมก็ยกย่อง ชื่นชม คนที่มาเป็นทหารนั้นคือผู้ยอมเสียสละเหมือนกันทุก ๆ คน

ถ้าทหารนักบินมีทัศนคติแบบนี้ ทั้ง ๆ ที่ได้เยอะกว่าคนอื่นตั้งเยอะแล้ว ยังเห็นว่าไม่ดีพอ ผมว่าน่าเป็นห่วงครับ
ในเมื่อมันเรียกว่าเงินค่าฝ่าอันตราย  ชื่อมันก็บอกอยู่แล้วครับว่าใครที่ควรจะได้บ้าง และใครที่ไม่ควรจะได้....ผมได้ยินคำเสียดสีแบบนี้มานานแล้วครับจากเพื่อนๆ เวลาที่เค้าเห็น Slip เงินเดือนของนักบิน แต่พอมีเหตุการณ์อากาศยานตกทีไร ทุกคนที่ไม่ได้เป็นนักบินจะพูดเป็นเสียงเดียวกันครับ ว่าให้ Ku เดือนละแสนก็ไม่อยากมาเป็นนักบิน ทำหน้าที่อื่นที่เท้าติดพื้นดีกว่า คิดดูเองแล้วกันว่าราชการที่ว่าเหนียวเรื่องเงินสุดๆ ยังให้ค่าตอบแทนนักบินมากๆ เพราะอะไร ถ้ามันไม่เสี่ยง...ผมมีประสบการณ์ที่เคยเจอมาครับ ขนาดเครื่องที่ฝูงผม Grounded (สถานภาพไม่สามารถทำการบินได้) ทั้งฝูง แต่เมื่อมีภารกิจเอาหน้า เพื่อสนองความต้องการของผู้บังคับบัญชาชั้นสูง นายท่านก็สามารถสั่งให้เครื่องทั้งหมดกลับมาบินได้ (โดยที่ไม่ได้มีการแก้ไขอะไรกับตัวเครื่องเลย)

เห็นน้อง ๆ เขาว่า ๆ กันว่าในสลิปเงินเดือนของทหารนักบิน มีเงินเพิ่มดังนี้

เงินเพิ่มนักบิน                  ทำไมถึงได้                                        เพราะเป็นนักบิน
เงินเพิ่มค่าฝ่าอันตราย        ได้เพราะฝ่าอันตราย       ทำไมถึงได้  เพราะเป็นนักบิน
เงินเพิ่มค่าผู้บังคับอากาศยาน  ได้เพราะบังคับอากาศยานได้  ทำไมถึงได้   เพราะเป็นนักบิน

ที่กล่าวข้างต้นผมอาจจะผิดนะครับ ถ้ามันไม่จริงก็คงต้องขอโทษนะครับ แต่ถ้ามันจริงมันก็น่าแปลกเหมือนกันนะครับ

แล้วทำไมมันไม่เป็นแบบนี้บ้าง

เงินเพิ่มผู้ทำลายวัตถุระเบิด   ได้เพราะเป็นนักทำลายวัตถุระเบิด
เงินเพิ่มค่าฝ่าอันตราย           ได้เพราะระเบิดมันอันตราย   ทำไมถึงได้  เพราะเป็นนักทำลายวัตถุระเบิด
เงินเพิ่มค่าถอดชนวนระเบิด    ได้เพราะบังคับให้ระเบิดมันไม่ระเบิดได้  ทำไมถึงได้ เพราะเป็นนักทำลายวัตถุระเบิด

แล้วทำไมนักทำลายวัตถุระเบิด พอเลิกทำหน้าที่นักทำลายวัตถุระเบิด แล้วให้งดรับเงินเพิ่ม  ถ้าเขียนระเบียบให้ไปทำลายวัตถุระเบิดปีละ 3 ลูก เพื่อรักษาความสามารถ แล้วให้รับเงินเพิ่มไปจนเกษียณไม่ได้บ้าง


อย่างที่บอกแหละครับว่า เวลาเปรียบเทียบน่ะ อย่ามองที่สูงกว่าอย่างเดียว มองลงไปดูคนที่เขาด้อยกว่าบ้าง

ก็ยืนยันอีกทีนะครับ ถ้าที่กล่าวไปมีอะไรผิดพลาดก็ขอโทษนะครับ   แต่เด๊ววันหลังจะลองขอให้น้อง ๆ แอบสแกนสลิปเงินเดือนของทหารนักบินมาให้ดูอีกทีนะครับ


ทหารคือผู้เสียสละ ครับ จะเอาความเสี่ยงเป็นข้ออ้าง มันไม่ฟังแปลกไปหน่อยเหรอครับ


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: Don Quixote ที่ สิงหาคม 07, 2008, 02:41:52 PM
ทหารนักบิน ทบ. ไม่ได้เข้าบอร์ดมานานแล้ว


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: Rod......รักในหลวง ที่ สิงหาคม 07, 2008, 02:51:35 PM
ขอแสดงความเสียใจกับครอบครัวผู้เสียชีวิตด้วยครับ
วันที่เกิดเหตุสภาพอากาศแย่ครับ มีหมอกหนา พื้นที่มีเขาสูง
จากที่จอดรถบนถนนต้องเดินขึ้นเขาอีกประมาณ 2-3 กม.จึงถึงที่เกิดเหตุครับ


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: Don Quixote ที่ สิงหาคม 07, 2008, 02:56:08 PM
...ญาติผมก็เคยเสียชีวิตเพราะ ฮ.ทบ. ตก เป็นนักบินเองครับ อากาศแปรปรวนอีกลำลอยมาตัดหางขาด


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: flyingkob-รักในหลวง ที่ สิงหาคม 07, 2008, 03:19:01 PM
ตามที่ จขกท. ตั้งกระทู้นั้น สาเหตุของอุบัติเหตุทางอากาศทั่วๆไป มีอยุ่สามกรณีใหญ่
1. นักบิน
2. การซ่อมบำรุง
3. เครื่องบิน

เมื่อเกิดอุบัติเหตุ การสอบสวนนั้นจะสอบสวนเพื่อหาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ ไม่ใช่สอบสวนเพื่อหาว่าใครทำผิด
ในส่วนของนักบินทั้งนักบินที่1 หรือนักบินผู้ช่วย จะทำการตรวจสอบประวัติการฝึกตั้งแต่จบโรงเรียนการบินจนถึงการฝึกบินครั้งล่าสุด รวมถึงประวัติการอบรมกับแบบของเครื่องบินที่เกิดอุบัติเหตุ และชั่วโมงบินกับเครื่องบินแบบดังกล่าว และทำการตรวจสอบประวัติการแพทย์ ซึ่งนักบินทุกคนต้องผ่านตรวจร่างกายเป็นประจำทุกๆ 12 เดือนที่สถาบันเวชศาสตร์การบิน ซึ่งปัจจุบันมีทั้งในโรงพยาบาลของทบ. และทร. และโรงพยาบาลเอกชนอีกสองสามแห่ง
ประวัติของนักบินจะมีรายละเอียดคือ ชั่วโมงบินตั้งแต่เริ่มแรกการเป็นนักบิน ชั่วโมงบินกลางคืน ชั่วโมงบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน ชั่วโมงบินของเครื่องบินแต่ละแบบ ประวัติการฝึกกับแบบเครื่องบินที่เกิดอุบัติเหตุ ชั่วโมงบินรวมในหนึ่งเดือนก่อน หนึ่งอาทิตย์ก่อน และยี่สิบสี่ชั่วโมงก่อนเกิดอุบัติเหตุ และในวันที่เกิดอุบัติเหตุนั้นนักบินได้ทำการบินมาตั้งแต่เวลาเท่าไหร่ การพักผ่อนเพียงพอหรือไม่ ทั้งหมดต้องรวบรวมเพื่อวิเคราะห์ในการสอบสวน ทั้งนี้เพื่อ ยกตัวอย่างเช่น มีคำสั่งให้ไปยังสนามบินที่ไม่คุ้นเคยเมื่อบินไปถึงนักบินได้ทำการลงปรากฎว่าหางของเครื่องบินไปเกี่ยวกับสายไฟแรงสูงทำให้เกิดความเสียหาย ผลออกมาลักษณะเช่นนี้คือ ต้องมีการทำความคุ้นเคยกับสนามบินก่อนที่จะทำการบิน การทำความคุ้นเคยเบื้องต้นคือ อ่าน Chart ของสนามบินแต่ละแห่งว่ามีสิ่งกีดขวางทางทิศไหน ตวามสูงเท่าไหร่ เป็นต้น
ในส่วนของการซ่อมบำรุงและตัวเครื่องบิน ว่าเครื่องบินได้ทำการซ่อมบำรุงตามระยะเวลาหรือไม่ และมีการแก้ไขข้อบกพร่องที่นักบินได้ลงบันทึกในแต่ละครั้งหรือไม่ และมีการแก้ไขความผิดพลาดของชิ้นส่วนที่โรงงานผู้ผลิตตรวจสอบพบหรือไม่ ซึ่งรวมทั้งหมดตั้งแต่ลำตัวเครื่องบิน เครื่องยนต์ ใบพัด และจะต้องมีการบันทึกประวัติทั้งหมด
เมื่อเกิดอุบัติเหตุที่เกี่ยวข้องกับตังเครื่องบินเครื่องยนต์และใบพัด หลักฐานนั้นหาง่าย ยกตัวอย่างเช่น เครื่องยนต์ดับ ตรวจดุระบบจ่ายเชื้อเพลิงรวมทั้งท่อทางของเชื้อเพลิง คอมพิวเตอร์ที่สั่งจ่าย บางครั้งเป็นที่ตัวไมโครชิพเพียงตัวเดียวก้สามารถทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ เมื่อได้ข้อมูลแล้วต้องเอารายงานส่งให้กับโรงงานผู้ผลิตเครื่องบินรวมทั้งโรงงานผู้ผลิตชิ้นส่วนที่บกพร่อง เพื่อทำการแก้ไข
ในส่วนของสภาพอากาศนั้น ก่อนทำการบินนักบินจะต้องได้รับรายงานข่าวอากาศล่าสุดทั้งสนามบินต้นทาง สนามบินปลายทาง สนามบินสำรอง รวมทั้งข่าวอากาศในเส้นทางบิน หากทัศนะวิสัยต่ำกว่ากฎการบิน (ใช้กฎการบินเดียวกันทั้งพลเรือนและทหาร) นักบินจะต้องไม่นำเครื่องออกจนกว่าทัศนะวิสัยจะดีขึ้น และนักบินจะต้องได้รับรายงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการบิน เช่น วันนี้มีการจุดบ้องไฟที่พิกัด.....ตั้งแต่เวลา....ถึงเวลา....รัศมี.........ความสูงจาก.........ถึง..... เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้นักบินทำการหลีกเลี่ยงการบินที่เข้าสู้บริเวณที่อันตราย เป็นต้น

การสอบสวนนั้นบางกรณีใช้เวลาเป็นหลายปีกว่าจะได้ข้อสรุปที่เกิดขึ้น และข้อสรุปต่างๆที่ได้มานั้นนาพามาสู่ความปลอดภัยต่อการเดินอากาศในปัจจุบัน

อนาคตนั้นเราจะได้เห็นได้ยินข่าวเกิดอุบัติเหตุทางอากาศขึ้นแทบทุกวันจนเป็นเรื่องธรรมดาเหมือนรถชนกันปากซอย นั่นเป็นเพราะเราเดินทางทางอากาศมากขึ้น ผมเองในฐานะที่เป็นนักบินอาชีพเคยบินมาหลากหลายรูปแบบการบินตอนนี้เลยมาจบที่เป็นนักบินสายการบินยังต้องเรียนรู้ฝึกฝนตลอดเวลา เพราะอุบัติเหตุนั้นมันเกิดขึ้นได้ทุกเวลาแต่เราเรียนรู้เพื่อยับยั้งไม่ให้อุบัติเหตุนั้นลุกลามใหญ่โต และขอแสดงความเสียใจกับผู้ที่สูญเสียมา ณโอกาสนี้


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: HogHeaven ที่ สิงหาคม 07, 2008, 03:33:48 PM
บ้านเรานั้นไม่เคยให้ความสำคัญต่อชีวิตนักบินมาตลอดโดยเฉพาะนักบินทหาร ซึ่งเป็นความกดดันลึกๆของนักบินมาตลอด กองทัพฯควรให้ความสำคัญกับบุคคลากรด้านนี้ให้มากหน่อยครับ ไม่ใช่เงินอย่างเดียวที่ให้หรอก ดูอย่างกองทัพฯสิงค์โปร์นั้นดูแลนักบินอย่างดีแทบจะไม่มีใครลาออกไปอยู่สายการบิน

ผมว่าการเปรียบเทียบมันมีมากกว่า 1 วิธีครับ นอกจากการเปรียบเทียบกับ "ผู้เหนือกว่า" บางทีก็ควรเปรียบเทียบกับ "ผู้ด้อยกว่า" ด้วยครับ  แล้วถ้าจะเปรียบเทียบก็ควรเปรียบเทียบในทุก ๆ เงื่อนไขด้วย ตัวอย่างเช่น นักบินของ ทอ.อเมริกัน ได้รับเงินค่าฝ่าอันตรายไม่มาก แล้วพอเลิกบินไปทำงานนั่งโต๊ะ เงินเพิ่มทั้งหลายก็ เลิกได้รับ ทอ.สิงคโปร์ก็อาจจะเป็นแบบนี้เหมือนกันนะครับ

ขณะที่ นักบินของ ทอ.ไทย เห็นน้อง ๆ ที่ผมรู้จักที่ไม่ได้เป็นนักบินบอกว่า รับกันไปจนเกษียณ ด้วยการเขียนระเบียบให้มาบินกันคนละสิบชั่วโมงสิบสองชั่วโมง แล้วรับเงินเพิ่มเหล่านั้น

พ๊อยท์ของผมคือ ถึง ทอ.ไทยจะดูแลนักบินได้ไม่ดีเท่า ทอ.สิงคโปร์ แต่ ทอ.ไทยดูแลนักบินดีกว่า ทหารเหล่าอื่น ๆ ไม่ใช่เหรอครับ <- - - น้อง ๆ เหล่านั่นบอกมาเหมือนกันครับ

ใช่ครับเพราะ ทอ.หน่วยหลักคือนักบิน ทบ.คาดว่าทหารม้า ส่วนทร.คือกัปตันเรือ
ที่เขียนมาว่าบ้านเราไม่ได้ให้ความสำคัญกับชีวิตนักบินเท่าไหร่นั้น ส่วนหนึ่งคือการดูแลนักบิน แต่ส่วนที่สำคัญคือการฝึกนักบิน ความสมควรเดินอากาศของเตรื่องบินที่มีอยุ่กับจำนวนนักบินประจำฝูงมันสัมพันธ์กันหรือไม่ และการฝึกนั้นมีการฝึกกันอย่างไรบ้าง ฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินเมื่อเข้าสภาพอากาศไม่ดีนั้นทำการฝึกบ่อยแค่ไหน การฝึกจำลองสถาณการณ์ฉุกเฉินไม่ว่าจะเป็นเครื่องยนต์ดับ เครื่องยนต์ไฟไหม้หรือเครื่องยนต์หลุด ฝึกกันปีละกี่ครั้ง สิ่งต่างๆเหล่านี้มันมาจากชีวิตจริงครับ ยิ่งฝึกมากเมื่อเกิดสถานณ์การคับขันสิ่งที่ฝึกมาเป็นสิ่งที่ทำให้เราและผู้โดยสารรอดตาย ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำไมนักบินต้องได้รับการฝึกฝนตลอดเวลาจนกว่าจะเลิกบิน

งั้นคงต้องให้ทหารบกมาให้ข้อมูลละกันนะครับว่า ทหารม้า มีเงินเพิ่มค่าฝ่าอันตรายไหม ให้ทหารเรือมาบอกอีกเหมือนกันว่ากัปตันเรือมีเงินเพิ่มค่าอะไรบ้างไหม นอกเหนือจากเงินประจำตำแหน่ง

เรื่องฝึกเรื่องอะไรที่กล่าวมามันคงไม่เกี่ยวหรอกครับ ที่ท่านว่ามาทั้งหมดมันคนละง่ามกับที่ผมพยายามจะบอกครับ ซึ่งก็คือ เวลาเปรียบเทียบ มันเปรียบเทียบได้มากกว่าหนึ่งด้านน่ะครับ โดยเฉพาะเรื่อง "ผลประโยชน์" จากสัมมาชีพ จะตั้งหน้าตั้งตาเอาไปเทียบกับ "ผู้ที่เหนือกว่า" อย่างเดียวคงไม่ได้ ต้องดูด้านของ "ผู้ที่ด้อยกว่า" ด้วยน่ะครับ

แล้วถึงผมจะไม่ได้เป็นทหาร ผมก็ยกย่อง ชื่นชม คนที่มาเป็นทหารนั้นคือผู้ยอมเสียสละเหมือนกันทุก ๆ คน

ถ้าทหารนักบินมีทัศนคติแบบนี้ ทั้ง ๆ ที่ได้เยอะกว่าคนอื่นตั้งเยอะแล้ว ยังเห็นว่าไม่ดีพอ ผมว่าน่าเป็นห่วงครับ
ในเมื่อมันเรียกว่าเงินค่าฝ่าอันตราย  ชื่อมันก็บอกอยู่แล้วครับว่าใครที่ควรจะได้บ้าง และใครที่ไม่ควรจะได้....ผมได้ยินคำเสียดสีแบบนี้มานานแล้วครับจากเพื่อนๆ เวลาที่เค้าเห็น Slip เงินเดือนของนักบิน แต่พอมีเหตุการณ์อากาศยานตกทีไร ทุกคนที่ไม่ได้เป็นนักบินจะพูดเป็นเสียงเดียวกันครับ ว่าให้ Ku เดือนละแสนก็ไม่อยากมาเป็นนักบิน ทำหน้าที่อื่นที่เท้าติดพื้นดีกว่า คิดดูเองแล้วกันว่าราชการที่ว่าเหนียวเรื่องเงินสุดๆ ยังให้ค่าตอบแทนนักบินมากๆ เพราะอะไร ถ้ามันไม่เสี่ยง...ผมมีประสบการณ์ที่เคยเจอมาครับ ขนาดเครื่องที่ฝูงผม Grounded (สถานภาพไม่สามารถทำการบินได้) ทั้งฝูง แต่เมื่อมีภารกิจเอาหน้า เพื่อสนองความต้องการของผู้บังคับบัญชาชั้นสูง นายท่านก็สามารถสั่งให้เครื่องทั้งหมดกลับมาบินได้ (โดยที่ไม่ได้มีการแก้ไขอะไรกับตัวเครื่องเลย)

เห็นน้อง ๆ เขาว่า ๆ กันว่าในสลิปเงินเดือนของทหารนักบิน มีเงินเพิ่มดังนี้

เงินเพิ่มนักบิน                  ทำไมถึงได้                                        เพราะเป็นนักบิน
เงินเพิ่มค่าฝ่าอันตราย        ได้เพราะฝ่าอันตราย       ทำไมถึงได้  เพราะเป็นนักบิน
เงินเพิ่มค่าผู้บังคับอากาศยาน  ได้เพราะบังคับอากาศยานได้  ทำไมถึงได้   เพราะเป็นนักบิน

ที่กล่าวข้างต้นผมอาจจะผิดนะครับ ถ้ามันไม่จริงก็คงต้องขอโทษนะครับ แต่ถ้ามันจริงมันก็น่าแปลกเหมือนกันนะครับ

แล้วทำไมมันไม่เป็นแบบนี้บ้าง

เงินเพิ่มผู้ทำลายวัตถุระเบิด   ได้เพราะเป็นนักทำลายวัตถุระเบิด
เงินเพิ่มค่าฝ่าอันตราย           ได้เพราะระเบิดมันอันตราย   ทำไมถึงได้  เพราะเป็นนักทำลายวัตถุระเบิด
เงินเพิ่มค่าถอดชนวนระเบิด    ได้เพราะบังคับให้ระเบิดมันไม่ระเบิดได้  ทำไมถึงได้ เพราะเป็นนักทำลายวัตถุระเบิด

แล้วทำไมนักทำลายวัตถุระเบิด พอเลิกทำหน้าที่นักทำลายวัตถุระเบิด แล้วให้งดรับเงินเพิ่ม  ถ้าเขียนระเบียบให้ไปทำลายวัตถุระเบิดปีละ 3 ลูก เพื่อรักษาความสามารถ แล้วให้รับเงินเพิ่มไปจนเกษียณไม่ได้บ้าง


อย่างที่บอกแหละครับว่า เวลาเปรียบเทียบน่ะ อย่ามองที่สูงกว่าอย่างเดียว มองลงไปดูคนที่เขาด้อยกว่าบ้าง

ก็ยืนยันอีกทีนะครับ ถ้าที่กล่าวไปมีอะไรผิดพลาดก็ขอโทษนะครับ   แต่เด๊ววันหลังจะลองขอให้น้อง ๆ แอบสแกนสลิปเงินเดือนของทหารนักบินมาให้ดูอีกทีนะครับ


ทหารคือผู้เสียสละ ครับ จะเอาความเสี่ยงเป็นข้ออ้าง มันไม่ฟังแปลกไปหน่อยเหรอครับ
ถ้าทางราชการท่านคิดแบบคุณScaRECroWอย่างนี้ก็ไม่ต้องมีค่าฝ่าอันตรายให้สักตำแหน่งเลยสิครับ  ;)


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ สิงหาคม 07, 2008, 05:28:25 PM
บ้านเรานั้นไม่เคยให้ความสำคัญต่อชีวิตนักบินมาตลอดโดยเฉพาะนักบินทหาร ซึ่งเป็นความกดดันลึกๆของนักบินมาตลอด กองทัพฯควรให้ความสำคัญกับบุคคลากรด้านนี้ให้มากหน่อยครับ ไม่ใช่เงินอย่างเดียวที่ให้หรอก ดูอย่างกองทัพฯสิงค์โปร์นั้นดูแลนักบินอย่างดีแทบจะไม่มีใครลาออกไปอยู่สายการบิน

ผมว่าการเปรียบเทียบมันมีมากกว่า 1 วิธีครับ นอกจากการเปรียบเทียบกับ "ผู้เหนือกว่า" บางทีก็ควรเปรียบเทียบกับ "ผู้ด้อยกว่า" ด้วยครับ  แล้วถ้าจะเปรียบเทียบก็ควรเปรียบเทียบในทุก ๆ เงื่อนไขด้วย ตัวอย่างเช่น นักบินของ ทอ.อเมริกัน ได้รับเงินค่าฝ่าอันตรายไม่มาก แล้วพอเลิกบินไปทำงานนั่งโต๊ะ เงินเพิ่มทั้งหลายก็ เลิกได้รับ ทอ.สิงคโปร์ก็อาจจะเป็นแบบนี้เหมือนกันนะครับ

ขณะที่ นักบินของ ทอ.ไทย เห็นน้อง ๆ ที่ผมรู้จักที่ไม่ได้เป็นนักบินบอกว่า รับกันไปจนเกษียณ ด้วยการเขียนระเบียบให้มาบินกันคนละสิบชั่วโมงสิบสองชั่วโมง แล้วรับเงินเพิ่มเหล่านั้น

พ๊อยท์ของผมคือ ถึง ทอ.ไทยจะดูแลนักบินได้ไม่ดีเท่า ทอ.สิงคโปร์ แต่ ทอ.ไทยดูแลนักบินดีกว่า ทหารเหล่าอื่น ๆ ไม่ใช่เหรอครับ <- - - น้อง ๆ เหล่านั่นบอกมาเหมือนกันครับ

ใช่ครับเพราะ ทอ.หน่วยหลักคือนักบิน ทบ.คาดว่าทหารม้า ส่วนทร.คือกัปตันเรือ
ที่เขียนมาว่าบ้านเราไม่ได้ให้ความสำคัญกับชีวิตนักบินเท่าไหร่นั้น ส่วนหนึ่งคือการดูแลนักบิน แต่ส่วนที่สำคัญคือการฝึกนักบิน ความสมควรเดินอากาศของเตรื่องบินที่มีอยุ่กับจำนวนนักบินประจำฝูงมันสัมพันธ์กันหรือไม่ และการฝึกนั้นมีการฝึกกันอย่างไรบ้าง ฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินเมื่อเข้าสภาพอากาศไม่ดีนั้นทำการฝึกบ่อยแค่ไหน การฝึกจำลองสถาณการณ์ฉุกเฉินไม่ว่าจะเป็นเครื่องยนต์ดับ เครื่องยนต์ไฟไหม้หรือเครื่องยนต์หลุด ฝึกกันปีละกี่ครั้ง สิ่งต่างๆเหล่านี้มันมาจากชีวิตจริงครับ ยิ่งฝึกมากเมื่อเกิดสถานณ์การคับขันสิ่งที่ฝึกมาเป็นสิ่งที่ทำให้เราและผู้โดยสารรอดตาย ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำไมนักบินต้องได้รับการฝึกฝนตลอดเวลาจนกว่าจะเลิกบิน

งั้นคงต้องให้ทหารบกมาให้ข้อมูลละกันนะครับว่า ทหารม้า มีเงินเพิ่มค่าฝ่าอันตรายไหม ให้ทหารเรือมาบอกอีกเหมือนกันว่ากัปตันเรือมีเงินเพิ่มค่าอะไรบ้างไหม นอกเหนือจากเงินประจำตำแหน่ง

เรื่องฝึกเรื่องอะไรที่กล่าวมามันคงไม่เกี่ยวหรอกครับ ที่ท่านว่ามาทั้งหมดมันคนละง่ามกับที่ผมพยายามจะบอกครับ ซึ่งก็คือ เวลาเปรียบเทียบ มันเปรียบเทียบได้มากกว่าหนึ่งด้านน่ะครับ โดยเฉพาะเรื่อง "ผลประโยชน์" จากสัมมาชีพ จะตั้งหน้าตั้งตาเอาไปเทียบกับ "ผู้ที่เหนือกว่า" อย่างเดียวคงไม่ได้ ต้องดูด้านของ "ผู้ที่ด้อยกว่า" ด้วยน่ะครับ

แล้วถึงผมจะไม่ได้เป็นทหาร ผมก็ยกย่อง ชื่นชม คนที่มาเป็นทหารนั้นคือผู้ยอมเสียสละเหมือนกันทุก ๆ คน

ถ้าทหารนักบินมีทัศนคติแบบนี้ ทั้ง ๆ ที่ได้เยอะกว่าคนอื่นตั้งเยอะแล้ว ยังเห็นว่าไม่ดีพอ ผมว่าน่าเป็นห่วงครับ

ก่อนจะออกความเห็น เพ่งโทษผู้อื่น   น่าจะทำความเข้าใจให้รอบด้าน ในทุกมิติ
ไม่สงสัยหรือว่า  ทำไมกองทัพและกระทรวงการคลัง  จึงได้ออกระเบียบเช่นนี้ขึ้นมา   หน่วยงานเหล่านี้ เขาก็มีคนทำงานที่มีสติปัญญาอยู่เหมือนกัน

ผู้ที่ยอมเสียสละอย่างที่คุณต้องการ   มีอยู่มาก แต่มีข้อจำกัดในเรื่องความฉลาด  ไหวพริบต่ำ  หากนำมาทำงานในตำแหน่งที่ต้องรับผิดชอบชีวิตผู้อื่นเป็นจำนวนมาก   รังแต่ทำความเสียหายให้สังคม

เงินเพิ่มค่าฝ่าอันตราย  เป็นมาตรการที่ช่วยในการคัดกรองบุคคล  วิธีหนึ่ง


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: พัทธ์--รักในหลวง-- ที่ สิงหาคม 07, 2008, 07:25:22 PM
ขอให้ดวงวิญญาณ ทหารกล้าทุกท่านสู่สุขคติครับ........


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: Ro@d - รักในหลวง ที่ สิงหาคม 07, 2008, 07:33:57 PM
ขอร่วมแสดงความเสียใจอย่างที่สุด.. กับครอบครัวของผู้กล้า ทุกครอบครัว ครับ.


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ สิงหาคม 07, 2008, 07:36:59 PM
บ้านเรานั้นไม่เคยให้ความสำคัญต่อชีวิตนักบินมาตลอดโดยเฉพาะนักบินทหาร ซึ่งเป็นความกดดันลึกๆของนักบินมาตลอด กองทัพฯควรให้ความสำคัญกับบุคคลากรด้านนี้ให้มากหน่อยครับ ไม่ใช่เงินอย่างเดียวที่ให้หรอก ดูอย่างกองทัพฯสิงค์โปร์นั้นดูแลนักบินอย่างดีแทบจะไม่มีใครลาออกไปอยู่สายการบิน

ผมว่าการเปรียบเทียบมันมีมากกว่า 1 วิธีครับ นอกจากการเปรียบเทียบกับ "ผู้เหนือกว่า" บางทีก็ควรเปรียบเทียบกับ "ผู้ด้อยกว่า" ด้วยครับ  แล้วถ้าจะเปรียบเทียบก็ควรเปรียบเทียบในทุก ๆ เงื่อนไขด้วย ตัวอย่างเช่น นักบินของ ทอ.อเมริกัน ได้รับเงินค่าฝ่าอันตรายไม่มาก แล้วพอเลิกบินไปทำงานนั่งโต๊ะ เงินเพิ่มทั้งหลายก็ เลิกได้รับ ทอ.สิงคโปร์ก็อาจจะเป็นแบบนี้เหมือนกันนะครับ

ขณะที่ นักบินของ ทอ.ไทย เห็นน้อง ๆ ที่ผมรู้จักที่ไม่ได้เป็นนักบินบอกว่า รับกันไปจนเกษียณ ด้วยการเขียนระเบียบให้มาบินกันคนละสิบชั่วโมงสิบสองชั่วโมง แล้วรับเงินเพิ่มเหล่านั้น

พ๊อยท์ของผมคือ ถึง ทอ.ไทยจะดูแลนักบินได้ไม่ดีเท่า ทอ.สิงคโปร์ แต่ ทอ.ไทยดูแลนักบินดีกว่า ทหารเหล่าอื่น ๆ ไม่ใช่เหรอครับ <- - - น้อง ๆ เหล่านั่นบอกมาเหมือนกันครับ

ใช่ครับเพราะ ทอ.หน่วยหลักคือนักบิน ทบ.คาดว่าทหารม้า ส่วนทร.คือกัปตันเรือ
ที่เขียนมาว่าบ้านเราไม่ได้ให้ความสำคัญกับชีวิตนักบินเท่าไหร่นั้น ส่วนหนึ่งคือการดูแลนักบิน แต่ส่วนที่สำคัญคือการฝึกนักบิน ความสมควรเดินอากาศของเตรื่องบินที่มีอยุ่กับจำนวนนักบินประจำฝูงมันสัมพันธ์กันหรือไม่ และการฝึกนั้นมีการฝึกกันอย่างไรบ้าง ฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินเมื่อเข้าสภาพอากาศไม่ดีนั้นทำการฝึกบ่อยแค่ไหน การฝึกจำลองสถาณการณ์ฉุกเฉินไม่ว่าจะเป็นเครื่องยนต์ดับ เครื่องยนต์ไฟไหม้หรือเครื่องยนต์หลุด ฝึกกันปีละกี่ครั้ง สิ่งต่างๆเหล่านี้มันมาจากชีวิตจริงครับ ยิ่งฝึกมากเมื่อเกิดสถานณ์การคับขันสิ่งที่ฝึกมาเป็นสิ่งที่ทำให้เราและผู้โดยสารรอดตาย ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำไมนักบินต้องได้รับการฝึกฝนตลอดเวลาจนกว่าจะเลิกบิน

งั้นคงต้องให้ทหารบกมาให้ข้อมูลละกันนะครับว่า ทหารม้า มีเงินเพิ่มค่าฝ่าอันตรายไหม ให้ทหารเรือมาบอกอีกเหมือนกันว่ากัปตันเรือมีเงินเพิ่มค่าอะไรบ้างไหม นอกเหนือจากเงินประจำตำแหน่ง

เรื่องฝึกเรื่องอะไรที่กล่าวมามันคงไม่เกี่ยวหรอกครับ ที่ท่านว่ามาทั้งหมดมันคนละง่ามกับที่ผมพยายามจะบอกครับ ซึ่งก็คือ เวลาเปรียบเทียบ มันเปรียบเทียบได้มากกว่าหนึ่งด้านน่ะครับ โดยเฉพาะเรื่อง "ผลประโยชน์" จากสัมมาชีพ จะตั้งหน้าตั้งตาเอาไปเทียบกับ "ผู้ที่เหนือกว่า" อย่างเดียวคงไม่ได้ ต้องดูด้านของ "ผู้ที่ด้อยกว่า" ด้วยน่ะครับ

แล้วถึงผมจะไม่ได้เป็นทหาร ผมก็ยกย่อง ชื่นชม คนที่มาเป็นทหารนั้นคือผู้ยอมเสียสละเหมือนกันทุก ๆ คน

ถ้าทหารนักบินมีทัศนคติแบบนี้ ทั้ง ๆ ที่ได้เยอะกว่าคนอื่นตั้งเยอะแล้ว ยังเห็นว่าไม่ดีพอ ผมว่าน่าเป็นห่วงครับ
ในเมื่อมันเรียกว่าเงินค่าฝ่าอันตราย  ชื่อมันก็บอกอยู่แล้วครับว่าใครที่ควรจะได้บ้าง และใครที่ไม่ควรจะได้....ผมได้ยินคำเสียดสีแบบนี้มานานแล้วครับจากเพื่อนๆ เวลาที่เค้าเห็น Slip เงินเดือนของนักบิน แต่พอมีเหตุการณ์อากาศยานตกทีไร ทุกคนที่ไม่ได้เป็นนักบินจะพูดเป็นเสียงเดียวกันครับ ว่าให้ Ku เดือนละแสนก็ไม่อยากมาเป็นนักบิน ทำหน้าที่อื่นที่เท้าติดพื้นดีกว่า คิดดูเองแล้วกันว่าราชการที่ว่าเหนียวเรื่องเงินสุดๆ ยังให้ค่าตอบแทนนักบินมากๆ เพราะอะไร ถ้ามันไม่เสี่ยง...ผมมีประสบการณ์ที่เคยเจอมาครับ ขนาดเครื่องที่ฝูงผม Grounded (สถานภาพไม่สามารถทำการบินได้) ทั้งฝูง แต่เมื่อมีภารกิจเอาหน้า เพื่อสนองความต้องการของผู้บังคับบัญชาชั้นสูง นายท่านก็สามารถสั่งให้เครื่องทั้งหมดกลับมาบินได้ (โดยที่ไม่ได้มีการแก้ไขอะไรกับตัวเครื่องเลย)

เห็นน้อง ๆ เขาว่า ๆ กันว่าในสลิปเงินเดือนของทหารนักบิน มีเงินเพิ่มดังนี้

เงินเพิ่มนักบิน                  ทำไมถึงได้                                        เพราะเป็นนักบิน
เงินเพิ่มค่าฝ่าอันตราย        ได้เพราะฝ่าอันตราย       ทำไมถึงได้  เพราะเป็นนักบิน
เงินเพิ่มค่าผู้บังคับอากาศยาน  ได้เพราะบังคับอากาศยานได้  ทำไมถึงได้   เพราะเป็นนักบิน

ที่กล่าวข้างต้นผมอาจจะผิดนะครับ ถ้ามันไม่จริงก็คงต้องขอโทษนะครับ แต่ถ้ามันจริงมันก็น่าแปลกเหมือนกันนะครับ

แล้วทำไมมันไม่เป็นแบบนี้บ้าง

เงินเพิ่มผู้ทำลายวัตถุระเบิด   ได้เพราะเป็นนักทำลายวัตถุระเบิด
เงินเพิ่มค่าฝ่าอันตราย           ได้เพราะระเบิดมันอันตราย   ทำไมถึงได้  เพราะเป็นนักทำลายวัตถุระเบิด
เงินเพิ่มค่าถอดชนวนระเบิด    ได้เพราะบังคับให้ระเบิดมันไม่ระเบิดได้  ทำไมถึงได้ เพราะเป็นนักทำลายวัตถุระเบิด

แล้วทำไมนักทำลายวัตถุระเบิด พอเลิกทำหน้าที่นักทำลายวัตถุระเบิด แล้วให้งดรับเงินเพิ่ม  ถ้าเขียนระเบียบให้ไปทำลายวัตถุระเบิดปีละ 3 ลูก เพื่อรักษาความสามารถ แล้วให้รับเงินเพิ่มไปจนเกษียณไม่ได้บ้าง


อย่างที่บอกแหละครับว่า เวลาเปรียบเทียบน่ะ อย่ามองที่สูงกว่าอย่างเดียว มองลงไปดูคนที่เขาด้อยกว่าบ้าง

ก็ยืนยันอีกทีนะครับ ถ้าที่กล่าวไปมีอะไรผิดพลาดก็ขอโทษนะครับ   แต่เด๊ววันหลังจะลองขอให้น้อง ๆ แอบสแกนสลิปเงินเดือนของทหารนักบินมาให้ดูอีกทีนะครับ


ทหารคือผู้เสียสละ ครับ จะเอาความเสี่ยงเป็นข้ออ้าง มันไม่ฟังแปลกไปหน่อยเหรอครับ
ถ้าทางราชการท่านคิดแบบคุณScaRECroWอย่างนี้ก็ไม่ต้องมีค่าฝ่าอันตรายให้สักตำแหน่งเลยสิครับ  ;)

คงไม่ต้องคิดแบบผมก็ได้อะครับ แค่คิดแบบอเมริกันก็พอ ฝึกมาแล้วก็ให้อยู่บินกับหน่วยบินนาน ๆ อยากได้ค่าฝ่าอันตรายก็บินต่อไป อยากก้าวหน้าตำแหน่งสูงเขาก็ให้เลิกรับเงิน เพราะไม่ได้ฝ่าแล้ว ถ้ากลับไปบินในหน่วยบินเป็นประจำใหม่ก็ค่อยรับใหม่


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: พญาจงอาง +รักในหลวง+ ที่ สิงหาคม 07, 2008, 07:52:55 PM
...ดูข่าวภาคค่ำในพิธีรับศพที่ บน6.ท่าน ผบ ทอ.กล่าวว่าเครื่องที่ตกประจำการมาตั้งแต่ปี2512..จอร์จ.. ::012::


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: flyingkob-รักในหลวง ที่ สิงหาคม 07, 2008, 08:06:27 PM
บ้านเรานั้นไม่เคยให้ความสำคัญต่อชีวิตนักบินมาตลอดโดยเฉพาะนักบินทหาร ซึ่งเป็นความกดดันลึกๆของนักบินมาตลอด กองทัพฯควรให้ความสำคัญกับบุคคลากรด้านนี้ให้มากหน่อยครับ ไม่ใช่เงินอย่างเดียวที่ให้หรอก ดูอย่างกองทัพฯสิงค์โปร์นั้นดูแลนักบินอย่างดีแทบจะไม่มีใครลาออกไปอยู่สายการบิน

ผมว่าการเปรียบเทียบมันมีมากกว่า 1 วิธีครับ นอกจากการเปรียบเทียบกับ "ผู้เหนือกว่า" บางทีก็ควรเปรียบเทียบกับ "ผู้ด้อยกว่า" ด้วยครับ  แล้วถ้าจะเปรียบเทียบก็ควรเปรียบเทียบในทุก ๆ เงื่อนไขด้วย ตัวอย่างเช่น นักบินของ ทอ.อเมริกัน ได้รับเงินค่าฝ่าอันตรายไม่มาก แล้วพอเลิกบินไปทำงานนั่งโต๊ะ เงินเพิ่มทั้งหลายก็ เลิกได้รับ ทอ.สิงคโปร์ก็อาจจะเป็นแบบนี้เหมือนกันนะครับ

ขณะที่ นักบินของ ทอ.ไทย เห็นน้อง ๆ ที่ผมรู้จักที่ไม่ได้เป็นนักบินบอกว่า รับกันไปจนเกษียณ ด้วยการเขียนระเบียบให้มาบินกันคนละสิบชั่วโมงสิบสองชั่วโมง แล้วรับเงินเพิ่มเหล่านั้น

พ๊อยท์ของผมคือ ถึง ทอ.ไทยจะดูแลนักบินได้ไม่ดีเท่า ทอ.สิงคโปร์ แต่ ทอ.ไทยดูแลนักบินดีกว่า ทหารเหล่าอื่น ๆ ไม่ใช่เหรอครับ <- - - น้อง ๆ เหล่านั่นบอกมาเหมือนกันครับ

ใช่ครับเพราะ ทอ.หน่วยหลักคือนักบิน ทบ.คาดว่าทหารม้า ส่วนทร.คือกัปตันเรือ
ที่เขียนมาว่าบ้านเราไม่ได้ให้ความสำคัญกับชีวิตนักบินเท่าไหร่นั้น ส่วนหนึ่งคือการดูแลนักบิน แต่ส่วนที่สำคัญคือการฝึกนักบิน ความสมควรเดินอากาศของเตรื่องบินที่มีอยุ่กับจำนวนนักบินประจำฝูงมันสัมพันธ์กันหรือไม่ และการฝึกนั้นมีการฝึกกันอย่างไรบ้าง ฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินเมื่อเข้าสภาพอากาศไม่ดีนั้นทำการฝึกบ่อยแค่ไหน การฝึกจำลองสถาณการณ์ฉุกเฉินไม่ว่าจะเป็นเครื่องยนต์ดับ เครื่องยนต์ไฟไหม้หรือเครื่องยนต์หลุด ฝึกกันปีละกี่ครั้ง สิ่งต่างๆเหล่านี้มันมาจากชีวิตจริงครับ ยิ่งฝึกมากเมื่อเกิดสถานณ์การคับขันสิ่งที่ฝึกมาเป็นสิ่งที่ทำให้เราและผู้โดยสารรอดตาย ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำไมนักบินต้องได้รับการฝึกฝนตลอดเวลาจนกว่าจะเลิกบิน

งั้นคงต้องให้ทหารบกมาให้ข้อมูลละกันนะครับว่า ทหารม้า มีเงินเพิ่มค่าฝ่าอันตรายไหม ให้ทหารเรือมาบอกอีกเหมือนกันว่ากัปตันเรือมีเงินเพิ่มค่าอะไรบ้างไหม นอกเหนือจากเงินประจำตำแหน่ง

เรื่องฝึกเรื่องอะไรที่กล่าวมามันคงไม่เกี่ยวหรอกครับ ที่ท่านว่ามาทั้งหมดมันคนละง่ามกับที่ผมพยายามจะบอกครับ ซึ่งก็คือ เวลาเปรียบเทียบ มันเปรียบเทียบได้มากกว่าหนึ่งด้านน่ะครับ โดยเฉพาะเรื่อง "ผลประโยชน์" จากสัมมาชีพ จะตั้งหน้าตั้งตาเอาไปเทียบกับ "ผู้ที่เหนือกว่า" อย่างเดียวคงไม่ได้ ต้องดูด้านของ "ผู้ที่ด้อยกว่า" ด้วยน่ะครับ

แล้วถึงผมจะไม่ได้เป็นทหาร ผมก็ยกย่อง ชื่นชม คนที่มาเป็นทหารนั้นคือผู้ยอมเสียสละเหมือนกันทุก ๆ คน

ถ้าทหารนักบินมีทัศนคติแบบนี้ ทั้ง ๆ ที่ได้เยอะกว่าคนอื่นตั้งเยอะแล้ว ยังเห็นว่าไม่ดีพอ ผมว่าน่าเป็นห่วงครับ

ก่อนจะออกความเห็น เพ่งโทษผู้อื่น   น่าจะทำความเข้าใจให้รอบด้าน ในทุกมิติ
ไม่สงสัยหรือว่า  ทำไมกองทัพและกระทรวงการคลัง  จึงได้ออกระเบียบเช่นนี้ขึ้นมา   หน่วยงานเหล่านี้ เขาก็มีคนทำงานที่มีสติปัญญาอยู่เหมือนกัน

ผู้ที่ยอมเสียสละอย่างที่คุณต้องการ   มีอยู่มาก แต่มีข้อจำกัดในเรื่องความฉลาด  ไหวพริบต่ำ  หากนำมาทำงานในตำแหน่งที่ต้องรับผิดชอบชีวิตผู้อื่นเป็นจำนวนมาก   รังแต่ทำความเสียหายให้สังคม

เงินเพิ่มค่าฝ่าอันตราย  เป็นมาตรการที่ช่วยในการคัดกรองบุคคล  วิธีหนึ่ง

ถูกต้องครับ การสร้างบุคคลากรที่ต้องใช้ทักษะปฏิญาณไหวพริบที่พิเศษ หรือที่เหมาะกับงานพิเศษนั้น กว่าจะสร้างบุคคลากรเหล่านั้นขึ้นมาได้ซักคน ต้องใช้งบประมาณเท่าไหร่ สอบเข้ามาได้ร้อยคนจบตามหลักสูตรกี่คนนับหัวได้ เงินพิเศษหหรือเงินค่าความเสี่ยงนั้นรัฐฯจ่ายให้เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจ และเหตุผลเป็นเหมือนกันกับที่ท่านผู้การฯกล่าวมา

แต่ในสิ่งที่ผมกล่าวมาก่อนหน้านั้นเป็นเรื่องเฉพาะในส่วนของนักบิน ไม่ว่าจะเป็นนักบินกองทัพฯหรือนักบินพลเรือน นักบินเหล่านั้นก็เป็นเพื่อนร่วมอาชีพกับผม และที่ให้รัฐฯดูแลให้ดีนั้นมันไม่ใช่เงินอย่างเดียวหรอกครับ มันรวมถึงความพร้อมของเครื่องบินด้วย เคยพบเครื่องบินถูกสั่งห้ามบินมาเป็นปี แต่บางครั้งต้องนำออกไปบินเพราะเครื่องไม่พอ หรือไม่ก็เอาชิ้นอะไหล่จากเครื่องหนึ่งไปใส่อีกเครื่องหนึ่ง เพื่อให้บินได้ ถามว่าถูกต้องหรือไม่ ดังนั้นความเสี่ยงมันอยู่ที่ไหน มันเสี่ยงตั้งแต่คุณเซ็นต์ชื่อรับเครื่องแล้วเพราะไม่มีทางรู้เลยว่ามันจะเกิดอะไรขึ้นอีก เคยทราบหรือไม่อย่างเครื่องบินแบบ Normad ที่รัฐบาลออสเตรเลียให้มาเราอเมาดัดแปลงเป้นเครื่องบินติดจรวด ติดปืนกลหรือที่เรียกกันว่า Spooky ปีกหลุดมากี่ลำแล้ว ยิงจรวดไปเกิดรอยร้าวบนโครงปีกวันดีคืนดีบินๆอยู่ปีกหัก นั่นเป็นเพราะอะไรมันเกิดอะไรขึ้น เครื่องบินเขาออกแบบมาสำหรับขนส่งแต่เราดันไปติดอาวุธโครงสร้างมันรับไม่ได้ เพียงแค่มีนโยบายให้ประหยัดจะซื้อเครื่องบินที่ติดอาวุธมันแพง เอาที่มีอยู่ดัดแปลงกันไปตามสถาณการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น หรือเหมือนอย่างเครื่องขับไล่ที่ตัวจุดระเบิดเครื่องดีดตัวนักบินหมดอายุและเสื่อมสภาพ ผลออกมาเครื่องยนต์ดับนักบินดีดตัวไม่ได้ตายคาเครื่อง สาเหตุไม่มีอะไหล่รออะไหล่ สิ่งเหล่านี้ต่างหากที่ผมอยากให้รัฐฯหรือกองทัพฯให้ความสำคัญบ้าง เครื่องบินผลิตเมื่อไหร่ก็ได้ แต่คุณสร้างนักบินไม่ได้หรอกครับ ยังมีอีกมากมายที่คนเหล่านั้นยังต้องเสี่ยงอีก

อาชีพนี้มีแต่เสมอตัวกับขาดทุนครับ



หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: flyingkob-รักในหลวง ที่ สิงหาคม 07, 2008, 08:11:30 PM
...ดูข่าวภาคค่ำในพิธีรับศพที่ บน6.ท่าน ผบ ทอ.กล่าวว่าเครื่องที่ตกประจำการมาตั้งแต่ปี2512..จอร์จ.. ::012::

เข้าประจำการก่อนหน้านี้ครับ เอลิคอปเตอร์ UH-1H ประจำการในกองทัพบกสหรัฐฯที่เวียดนาม และรัฐบาลไทยได้รับมอบเฮลิคอปเตอร์ฝูงนี้โดยผ่าน USAD และยังเป็นทรัพย์สมบัติของกองทัพบกสหรัฐฯอยู่ครับ....รายละเอียดของเครื่องทั้งหมดผมเก็บได้จากแม่ค้าขายกล้วยแขกที่ลพบุรี


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ สิงหาคม 07, 2008, 08:48:27 PM
บ้านเรานั้นไม่เคยให้ความสำคัญต่อชีวิตนักบินมาตลอดโดยเฉพาะนักบินทหาร ซึ่งเป็นความกดดันลึกๆของนักบินมาตลอด กองทัพฯควรให้ความสำคัญกับบุคคลากรด้านนี้ให้มากหน่อยครับ ไม่ใช่เงินอย่างเดียวที่ให้หรอก ดูอย่างกองทัพฯสิงค์โปร์นั้นดูแลนักบินอย่างดีแทบจะไม่มีใครลาออกไปอยู่สายการบิน

ผมว่าการเปรียบเทียบมันมีมากกว่า 1 วิธีครับ นอกจากการเปรียบเทียบกับ "ผู้เหนือกว่า" บางทีก็ควรเปรียบเทียบกับ "ผู้ด้อยกว่า" ด้วยครับ  แล้วถ้าจะเปรียบเทียบก็ควรเปรียบเทียบในทุก ๆ เงื่อนไขด้วย ตัวอย่างเช่น นักบินของ ทอ.อเมริกัน ได้รับเงินค่าฝ่าอันตรายไม่มาก แล้วพอเลิกบินไปทำงานนั่งโต๊ะ เงินเพิ่มทั้งหลายก็ เลิกได้รับ ทอ.สิงคโปร์ก็อาจจะเป็นแบบนี้เหมือนกันนะครับ

ขณะที่ นักบินของ ทอ.ไทย เห็นน้อง ๆ ที่ผมรู้จักที่ไม่ได้เป็นนักบินบอกว่า รับกันไปจนเกษียณ ด้วยการเขียนระเบียบให้มาบินกันคนละสิบชั่วโมงสิบสองชั่วโมง แล้วรับเงินเพิ่มเหล่านั้น

พ๊อยท์ของผมคือ ถึง ทอ.ไทยจะดูแลนักบินได้ไม่ดีเท่า ทอ.สิงคโปร์ แต่ ทอ.ไทยดูแลนักบินดีกว่า ทหารเหล่าอื่น ๆ ไม่ใช่เหรอครับ <- - - น้อง ๆ เหล่านั่นบอกมาเหมือนกันครับ

ใช่ครับเพราะ ทอ.หน่วยหลักคือนักบิน ทบ.คาดว่าทหารม้า ส่วนทร.คือกัปตันเรือ
ที่เขียนมาว่าบ้านเราไม่ได้ให้ความสำคัญกับชีวิตนักบินเท่าไหร่นั้น ส่วนหนึ่งคือการดูแลนักบิน แต่ส่วนที่สำคัญคือการฝึกนักบิน ความสมควรเดินอากาศของเตรื่องบินที่มีอยุ่กับจำนวนนักบินประจำฝูงมันสัมพันธ์กันหรือไม่ และการฝึกนั้นมีการฝึกกันอย่างไรบ้าง ฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินเมื่อเข้าสภาพอากาศไม่ดีนั้นทำการฝึกบ่อยแค่ไหน การฝึกจำลองสถาณการณ์ฉุกเฉินไม่ว่าจะเป็นเครื่องยนต์ดับ เครื่องยนต์ไฟไหม้หรือเครื่องยนต์หลุด ฝึกกันปีละกี่ครั้ง สิ่งต่างๆเหล่านี้มันมาจากชีวิตจริงครับ ยิ่งฝึกมากเมื่อเกิดสถานณ์การคับขันสิ่งที่ฝึกมาเป็นสิ่งที่ทำให้เราและผู้โดยสารรอดตาย ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำไมนักบินต้องได้รับการฝึกฝนตลอดเวลาจนกว่าจะเลิกบิน

งั้นคงต้องให้ทหารบกมาให้ข้อมูลละกันนะครับว่า ทหารม้า มีเงินเพิ่มค่าฝ่าอันตรายไหม ให้ทหารเรือมาบอกอีกเหมือนกันว่ากัปตันเรือมีเงินเพิ่มค่าอะไรบ้างไหม นอกเหนือจากเงินประจำตำแหน่ง

เรื่องฝึกเรื่องอะไรที่กล่าวมามันคงไม่เกี่ยวหรอกครับ ที่ท่านว่ามาทั้งหมดมันคนละง่ามกับที่ผมพยายามจะบอกครับ ซึ่งก็คือ เวลาเปรียบเทียบ มันเปรียบเทียบได้มากกว่าหนึ่งด้านน่ะครับ โดยเฉพาะเรื่อง "ผลประโยชน์" จากสัมมาชีพ จะตั้งหน้าตั้งตาเอาไปเทียบกับ "ผู้ที่เหนือกว่า" อย่างเดียวคงไม่ได้ ต้องดูด้านของ "ผู้ที่ด้อยกว่า" ด้วยน่ะครับ

แล้วถึงผมจะไม่ได้เป็นทหาร ผมก็ยกย่อง ชื่นชม คนที่มาเป็นทหารนั้นคือผู้ยอมเสียสละเหมือนกันทุก ๆ คน

ถ้าทหารนักบินมีทัศนคติแบบนี้ ทั้ง ๆ ที่ได้เยอะกว่าคนอื่นตั้งเยอะแล้ว ยังเห็นว่าไม่ดีพอ ผมว่าน่าเป็นห่วงครับ

ก่อนจะออกความเห็น เพ่งโทษผู้อื่น   น่าจะทำความเข้าใจให้รอบด้าน ในทุกมิติ
ไม่สงสัยหรือว่า  ทำไมกองทัพและกระทรวงการคลัง  จึงได้ออกระเบียบเช่นนี้ขึ้นมา   หน่วยงานเหล่านี้ เขาก็มีคนทำงานที่มีสติปัญญาอยู่เหมือนกัน

ผู้ที่ยอมเสียสละอย่างที่คุณต้องการ   มีอยู่มาก แต่มีข้อจำกัดในเรื่องความฉลาด  ไหวพริบต่ำ  หากนำมาทำงานในตำแหน่งที่ต้องรับผิดชอบชีวิตผู้อื่นเป็นจำนวนมาก   รังแต่ทำความเสียหายให้สังคม

เงินเพิ่มค่าฝ่าอันตราย  เป็นมาตรการที่ช่วยในการคัดกรองบุคคล  วิธีหนึ่ง

ผมเห็นด้วยมาก ๆ กับเรื่องมิติที่รอบด้านครับ เช่นเปรียบเทียบเมื่อกับสิงคโปร์ ก็ต้องเปรียบเทียบให้ครบทุกมิติครับ เศรษฐกิจเขาเป็นอย่างไร ประชากรเท่าไร  รายได้ต่อหัวเท่าไร ในจำนวนประชากรที่มีอยากเป็นทหารกันมากหรือน้อย ไม่ใช่แค่เอาค่าฝ่าอันตรายของเขามา แล้วคูณด้วยอัตราแลกเปลี่ยน โดยไม่มองว่าในมิติเดียวกันด้านอื่น ๆ ของประเทศไทยว่ามันเหมือนหรือต่างกันเขาอย่างไร  การรับคนมาเป็นทหารนักบินของเขา ต้องสอบแข่งกันเข้า หรือต้องให้ทุนจ้างให้มาเข้า อะไรแบบนี้เป็นต้น

พ๊อยของผมมันอาจจะเป็นแค่มิติแคบ ๆ เพราะผมต้องการจำกัดมันไว้แค่เรื่องผลประโยชน์น่ะ บางทีก็ต้องก้มลงไปลองคนที่เขาด้อยกว่าด้วย  ก็ดีครับที่ท่านสุพินท์ช่วยแตกประเด็นให้ ซึ่งผมเห็นด้วยมาก ๆ ว่ามันต้องมองให้ครบทุกมิติ เวลาเปรียบเทียบก็ต้องเปรียบเทียบให้ครบทุกมิติ

ขอบคุณมากครับ ที่ช่วยแนะนำแตกมิติให้


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: cups ที่ สิงหาคม 08, 2008, 09:01:45 AM
น้ำท่วมขังในถนน  สาเหตุคือน้ำระบายไม่ทัน
ไฟไหม้    สาเหตุคือไฟฟ้าลัดวงจร
ถูกยิงตาย    สาเหตุคือขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือชู้สาว
เครื่องบินตก    สาเหตุคือสภาพอากาศแปรปรวน


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: naisomchai ที่ สิงหาคม 08, 2008, 09:19:30 AM
นายสมชายว่าเงินเดือนแสนกว่าบาทแล้วต้องมาขับเครื่องบิน... ก็ยังถือว่าเสียสละอยู่ดีครับ...

คนไทยมีรายได้แสนกว่าบาทแยะมาก เพียงแต่คนเหล่านั้นเขาไม่ได้ออกมาพูดออกมาบอกว่าฉันเงินเดือนแสนกว่าบาท...

ลองดูรอบตัวซิครับ... บ้านจัดสรรเดี่ยวหนึ่งหลังขนาดร้อยกว่าตารางวาในเขต กทม. หรือเขตตัวเมืองราคาสิบล้าน(มีเกลื่อน), รถยนต์ดาวสามแฉกหนึ่งคันสามล้านขึ้น(วิ่งเกลื่อนถนน)... ถ้าซื้อเงินสดก็รวยมาก...

แล้วถ้าซื้อเงินผ่อนเล่า... ค่าผ่อนบ้านผ่อนรถรวมกันแล้วเงินเดือนต่ำกว่าแสนอยู่ไม่ได้หรอกครับ...

นายสมชายถึงว่าคนกลุ่มนี้เสียสละมาก...


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: Don Quixote ที่ สิงหาคม 08, 2008, 10:06:32 AM
ขอบคุณทุกท่านๆ สำหรับข้อมูลและแนวคิดดีๆ ครับ ::014:: ::014:: ::002:: :VOV:


หัวข้อ: Re: ฮ. ตกอีกแล้วที่ภาคใต้ ความจริงมันคืออะไร
เริ่มหัวข้อโดย: จอยฮันเตอร์ ที่ สิงหาคม 08, 2008, 10:40:56 AM
วันนี้มีข่าว  ฮ. ตกอีกแล้วที่ยะลา   จนท. ๑๐  ท่านเสียชีวิต

๓ เหตุการณ์ติดต่อกันกับเหตุ  ฮ.  ตกใน  จ. ยะลา     นำมาซึ่งข้อน่าวิเคราะห์ว่าเหตุใดจึงเกิดเหตุเช่นนี้ซ้ำครั้ง   ถี่กระชั้นชิด

จนน่ากังวล   มาตราฐานการบิน    สภาพของเครื่องที่ใช้ปฎิบัติงาน   หรืออะไรกัน  ทำให้เราท่านได้รับข่าวที่ไม่อยากรับเช่นนี้

หรือความจริงมันมีอะไรที่เราท่านคิดไม่ถึง...........
นั่นหนะสิทำไม ???