เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน

สนทนาภาษาปืน => สนทนาภาษาปืน => ข้อความที่เริ่มโดย: Thanapong รักในหลวง ที่ ตุลาคม 01, 2005, 05:38:41 PM



หัวข้อ: การทำผิวปืน
เริ่มหัวข้อโดย: Thanapong รักในหลวง ที่ ตุลาคม 01, 2005, 05:38:41 PM
อยากทราบว่าการทำผิวปืน แบบ ดำด้าน(Matte Oxide) ช่างปืนเมืองไทยสามารถทำได้หรือไม่ และร้านไหนครับ


หัวข้อ: Re: การทำผิวปืน
เริ่มหัวข้อโดย: โทน73 -รักในหลวง- ที่ ตุลาคม 01, 2005, 05:48:20 PM
ถ้ารมดำ-ด้าน ธรรมดา ทำได้ครับ ช่างปืนทำได้ทุกร้าน
แต่ถ้าเคลือบผิว ด้วยวัสดุพิเศษ ให้เป็นสีดำด้าน ลื่นแข็ง  อย่างนั้นช่างบ้านเรา ยังทำไม่ได้ครับ


หัวข้อ: Re: การทำผิวปืน
เริ่มหัวข้อโดย: โจ ที่ ตุลาคม 01, 2005, 06:06:58 PM
ผมจำไม่ได้ว่าเขาเรียกว่าอะไร
ขั้นตอนในการทำ จะใช้ไฟฟ้าเป็นตัวนำ โดยวัตถุที่ทำจะต้องเป็นโลหะที่สื่อไฟฟ้าได้หลังจากนั้นก็ติดประจุบวกหรือลบจำไม่ได้ แต่ค่อยเอาปืนยิงผงสีที่ถูกประจุบวกหรือลบจำไม่ได้ ยิงไปที่วัตถุที่จะทำสี

หลังจากนั้นสีจะถูกดูดติดกับวัตถุที่จะทำสีโดยประจุไฟฟ้า แล้วทำไปอบที่อุณหภูมิเท่าไรก็จำไม่ได้แล้ว ก็จะได้สีแบบสีดำด้าน ลื่นแข็ง 

ข้อดี ผิวทนแบบสุดๆ และเอาออกยากมาก
ข้อเสีย ทำให้สีสม่ำเสมอและสวยยาก รวมทั้งผิวที่ได้จะหนามาก ไม่เหมาะที่จะทำกับโครงปืน สไลด์ และลำกล้อง ชิ้นส่วนที่ทำบ่อยที่สุดคือ แม็กกาซีนปืน หรือ ซองบรรจุกระสุนครับ


หัวข้อ: Re: การทำผิวปืน
เริ่มหัวข้อโดย: DICK ที่ ตุลาคม 01, 2005, 07:53:43 PM
ผมจำไม่ได้ว่าเขาเรียกว่าอะไร
ขั้นตอนในการทำ จะใช้ไฟฟ้าเป็นตัวนำ โดยวัตถุที่ทำจะต้องเป็นโลหะที่สื่อไฟฟ้าได้หลังจากนั้นก็ติดประจุบวกหรือลบจำไม่ได้ แต่ค่อยเอาปืนยิงผงสีที่ถูกประจุบวกหรือลบจำไม่ได้ ยิงไปที่วัตถุที่จะทำสี

หลังจากนั้นสีจะถูกดูดติดกับวัตถุที่จะทำสีโดยประจุไฟฟ้า แล้วทำไปอบที่อุณหภูมิเท่าไรก็จำไม่ได้แล้ว ก็จะได้สีแบบสีดำด้าน ลื่นแข็ง 

ข้อดี ผิวทนแบบสุดๆ และเอาออกยากมาก
ข้อเสีย ทำให้สีสม่ำเสมอและสวยยาก รวมทั้งผิวที่ได้จะหนามาก ไม่เหมาะที่จะทำกับโครงปืน สไลด์ และลำกล้อง ชิ้นส่วนที่ทำบ่อยที่สุดคือ แม็กกาซีนปืน หรือ ซองบรรจุกระสุนครับ
+

แบบที่ว่ามานี้ ก็คือ Powder Coat
เป็นการเคลือบสี ในงานอุตสาหกรรมธรรมดาๆ นี่แหละครับ
เขานิยมใช้ เพราะบางครั้งชิ้นงาน เช่นขาเก้าอี้ เป็นทรงกลม การพ่นสีธรรมดา ต้องสเปรย์จากรอบด้าน เปลืองสีมาก และสีจะทับซ้อนกัน หนาเกินไป เกิดจากการพ่นสีรอบด้านนั่นเอง

 Matte หมายถึง รอยจุดๆๆๆ ละเอียดบนผิวงาน แบบคล้ายๆกับกำมะหยี่
 matte Oxide ผมเองไม่เคยได้ยิน แต่คาดว่า เป็นผิวดำด้านที่ไม่เงา ไม่สะท้อนแสง
คำนี้ ไม่น่าจะหมายถึงอะไรเป็นพิเศษ นอกจากว่า ผู้ผลิตสินค้าบางรายจะเรียก
แปลเป็นไทยก้คือ  "เคลือบดำด้าน"

ดังนั้น ท่านเจ้าของกระทู้ต้องดูว่า มันคืออะไร ?

- ทำผิวพ่นทรายแล้วไปรมดำ
- ทำเพาเดอร์โค้ท
- กรรมวิธีอื่นๆ ที่ให้ผิวเสตนเลส เป็นสีดำ

ผิดถูกอย่างไร ไม่รับรองครับ
ตอบแบบหยาบ เท่าที่ทราบมา


หัวข้อ: Re: การทำผิวปืน
เริ่มหัวข้อโดย: Thanapong รักในหลวง ที่ ตุลาคม 02, 2005, 07:21:23 AM
ผมจำไม่ได้ว่าเขาเรียกว่าอะไร
ขั้นตอนในการทำ จะใช้ไฟฟ้าเป็นตัวนำ โดยวัตถุที่ทำจะต้องเป็นโลหะที่สื่อไฟฟ้าได้หลังจากนั้นก็ติดประจุบวกหรือลบจำไม่ได้ แต่ค่อยเอาปืนยิงผงสีที่ถูกประจุบวกหรือลบจำไม่ได้ ยิงไปที่วัตถุที่จะทำสี

หลังจากนั้นสีจะถูกดูดติดกับวัตถุที่จะทำสีโดยประจุไฟฟ้า แล้วทำไปอบที่อุณหภูมิเท่าไรก็จำไม่ได้แล้ว ก็จะได้สีแบบสีดำด้าน ลื่นแข็ง

ข้อดี ผิวทนแบบสุดๆ และเอาออกยากมาก
ข้อเสีย ทำให้สีสม่ำเสมอและสวยยาก รวมทั้งผิวที่ได้จะหนามาก ไม่เหมาะที่จะทำกับโครงปืน สไลด์ และลำกล้อง ชิ้นส่วนที่ทำบ่อยที่สุดคือ แม็กกาซีนปืน หรือ ซองบรรจุกระสุนครับ
+

แบบที่ว่ามานี้ ก็คือ Powder Coat
เป็นการเคลือบสี ในงานอุตสาหกรรมธรรมดาๆ นี่แหละครับ
เขานิยมใช้ เพราะบางครั้งชิ้นงาน เช่นขาเก้าอี้ เป็นทรงกลม การพ่นสีธรรมดา ต้องสเปรย์จากรอบด้าน เปลืองสีมาก และสีจะทับซ้อนกัน หนาเกินไป เกิดจากการพ่นสีรอบด้านนั่นเอง

 Matte หมายถึง รอยจุดๆๆๆ ละเอียดบนผิวงาน แบบคล้ายๆกับกำมะหยี่
 matte Oxide ผมเองไม่เคยได้ยิน แต่คาดว่า เป็นผิวดำด้านที่ไม่เงา ไม่สะท้อนแสง
คำนี้ ไม่น่าจะหมายถึงอะไรเป็นพิเศษ นอกจากว่า ผู้ผลิตสินค้าบางรายจะเรียก
แปลเป็นไทยก้คือ "เคลือบดำด้าน"

ดังนั้น ท่านเจ้าของกระทู้ต้องดูว่า มันคืออะไร ?

- ทำผิวพ่นทรายแล้วไปรมดำ
- ทำเพาเดอร์โค้ท
- กรรมวิธีอื่นๆ ที่ให้ผิวเสตนเลส เป็นสีดำ

ผิดถูกอย่างไร ไม่รับรองครับ
ตอบแบบหยาบ เท่าที่ทราบมา
ขอบคุณมากครับ  คือมีคนจะขาย 1911 .45 ให้เลยจะนำไปรมดำ แบบ Kimber custom TLE ครับ  เขาเรียกผิวปืนของเขาว่า  Matte Oxide ครับ


หัวข้อ: Re: การทำผิวปืน
เริ่มหัวข้อโดย: ViboonR ที่ ตุลาคม 02, 2005, 08:03:37 AM
ผมจำไม่ได้ว่าเขาเรียกว่าอะไร
ขั้นตอนในการทำ จะใช้ไฟฟ้าเป็นตัวนำ โดยวัตถุที่ทำจะต้องเป็นโลหะที่สื่อไฟฟ้าได้หลังจากนั้นก็ติดประจุบวกหรือลบจำไม่ได้ แต่ค่อยเอาปืนยิงผงสีที่ถูกประจุบวกหรือลบจำไม่ได้ ยิงไปที่วัตถุที่จะทำสี

หลังจากนั้นสีจะถูกดูดติดกับวัตถุที่จะทำสีโดยประจุไฟฟ้า แล้วทำไปอบที่อุณหภูมิเท่าไรก็จำไม่ได้แล้ว ก็จะได้สีแบบสีดำด้าน ลื่นแข็ง 

ข้อดี ผิวทนแบบสุดๆ และเอาออกยากมาก
ข้อเสีย ทำให้สีสม่ำเสมอและสวยยาก รวมทั้งผิวที่ได้จะหนามาก ไม่เหมาะที่จะทำกับโครงปืน สไลด์ และลำกล้อง ชิ้นส่วนที่ทำบ่อยที่สุดคือ แม็กกาซีนปืน หรือ ซองบรรจุกระสุนครับ
+

แบบที่ว่ามานี้ ก็คือ Powder Coat
เป็นการเคลือบสี ในงานอุตสาหกรรมธรรมดาๆ นี่แหละครับ
เขานิยมใช้ เพราะบางครั้งชิ้นงาน เช่นขาเก้าอี้ เป็นทรงกลม การพ่นสีธรรมดา ต้องสเปรย์จากรอบด้าน เปลืองสีมาก และสีจะทับซ้อนกัน หนาเกินไป เกิดจากการพ่นสีรอบด้านนั่นเอง

เพิ่มเติมครับ ไอ้เจ้าPowder Coat ก็คือ สีอบความร้อนชนิดผง ใช้ระบบที่คุณโจว่า (Electro Static) ในการทำงาน
กับปืนที่ต้องการผิวสีที่บาง ควรจะใช้ระบบพ่น  (spray) ถึงจะคุมความหนาบางของฟิล์มสีได้ดีครับ


หัวข้อ: Re: การทำผิวปืน
เริ่มหัวข้อโดย: DICK ที่ ตุลาคม 02, 2005, 08:48:39 AM
อ้างถึง
ขอบคุณมากครับ คือมีคนจะขาย 1911 .45 ให้เลยจะนำไปรมดำ แบบ Kimber custom TLE ครับ เขาเรียกผิวปืนของเขาว่า Matte Oxide ครับ
อ้างถึง

แล้วปืนที่จะซื้อ เป็นเหล็ก หรือ เสตนเลสครับ ?


หัวข้อ: Re: การทำผิวปืน
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ ตุลาคม 02, 2005, 09:30:42 AM
ถ้ารมดำ-ด้าน ธรรมดา ทำได้ครับ ช่างปืนทำได้ทุกร้าน
แต่ถ้าเคลือบผิว ด้วยวัสดุพิเศษ ให้เป็นสีดำด้าน ลื่นแข็ง  อย่างนั้นช่างบ้านเรา ยังทำไม่ได้ครับ

หมายถึง nitrotec ใช่ไหมครับ
ผมกำลังเขียนสเป็คปืนแข่งรุ่นใหม่อยู่  ช่วยหาข้อมูลให้หน่อยครับ  ต้องการให้เป็นโทนสีดำ ทั้งแบบผิวหนาขึ้น และชิ้นงานหนาเท่าเดิม  ตอนนี้กำลังมอง boron nitride อยู่ ไม่รู้ว่ามีข้อดี ข้อเสียอย่างไร   อยากได้ข้อมูลแต่ละแบบ  ว่าได้ผิวแข็งเท่าไหร่ เอาลงไปถึงความร้อนระหว่างชุบ  จะได้คำนวณได้ว่าเนื้อในจะอ่อนลงไปเท่าไหร่


หัวข้อ: Re: การทำผิวปืน
เริ่มหัวข้อโดย: Zeus-รักในหลวง ที่ ตุลาคม 02, 2005, 03:01:35 PM
ถ้ารมดำ-ด้าน ธรรมดา ทำได้ครับ ช่างปืนทำได้ทุกร้าน
แต่ถ้าเคลือบผิว ด้วยวัสดุพิเศษ ให้เป็นสีดำด้าน ลื่นแข็ง  อย่างนั้นช่างบ้านเรา ยังทำไม่ได้ครับ

หมายถึง nitrotec ใช่ไหมครับ
ผมกำลังเขียนสเป็คปืนแข่งรุ่นใหม่อยู่  ช่วยหาข้อมูลให้หน่อยครับ  ต้องการให้เป็นโทนสีดำ ทั้งแบบผิวหนาขึ้น และชิ้นงานหนาเท่าเดิม  ตอนนี้กำลังมอง boron nitride อยู่ ไม่รู้ว่ามีข้อดี ข้อเสียอย่างไร   อยากได้ข้อมูลแต่ละแบบ  ว่าได้ผิวแข็งเท่าไหร่ เอาลงไปถึงความร้อนระหว่างชุบ  จะได้คำนวณได้ว่าเนื้อในจะอ่อนลงไปเท่าไหร่
:D~ :D~ :D~1911 TA 49 Custom by Supin Limited Edition :D~ :D~ :D~ :D~