เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
ตุลาคม 18, 2024, 11:26:36 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เว็บบอร์ด อวป. สามารถเข้าได้ทั้งสองทาง คือ www.gunsandgames.com และ www.gunsandgames.net ครับ
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 2 3 [4]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ลูกซ้อมใช้ยิงคนเป็นอย่างไรครับ  (อ่าน 4039 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
SAGE-รักในหลวง
รักกันไว้เถิด เราเกิดร่วมแดนไทย
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 8
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 169



« ตอบ #45 เมื่อ: ตุลาคม 24, 2007, 01:46:42 PM »

   แฟนของผมเธอสงสัยนักหนาว่ายิงปืนแล้วรู้สึกยังไง? ทำไมชอบไป (เสียตัง) นัก? เลยพาไปยิงซะเลยจะได้หายสงสัย และเธอก็ตั้งคำถามว่า "กระสุนซ้อม" ต่างจาก "กระสุนจริง" อย่างไร? ผมก็เลยอธิบายให้ฟังโดยสรุปว่า มีอันตรายและถึงตายได้เหมือนกันและ ฯลฯ   แหน!ะยังทำงงและมาถามอีกว่า หัวกระสุนเล็กนิดเดียวเล็กกว่าลูกหนังสะติ๊กซะอีกทำไมถึงตาย?  เลยต้องร่ายยาวว่า มันเพราะ ความเร็ว + แรงปะทะ (Shock wave) + อำนาจทะลุทะลวงและฯลฯ เฮ้อ!ก็อธิบายไปเท่าที่พอจะทราบแหละครับ
   และจำไม่ได้ว่าเคยอ่านเจอในเวปไหนที่มีผู้เข้าใจผิดคิดว่าลูกซ้อม เหมือนลูกแบล็ง ที่ยิงแล้วมีแต่เสียง Huh จนเกือบเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ สาเหตุคงเพราะคำว่า "ลูกซ้อม" เลยเข้าใจผิดไปว่าใช้สำหรับซ้อมยิงกระดาษ ไม่มีอันตรายเหมือนลูกจริง....อันตรายมากนะครับถ้าเข้าใจผิดเช่นนั้น
ขอบพระคุณครับ  Grin
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ตุลาคม 24, 2007, 01:48:45 PM โดย SAGE » บันทึกการเข้า
Ro@d - รักในหลวง
รักเธอ.. ประเทศไทย
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 4088
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 20186


1 คัน 1 ชีวิตที่อิสระ มี G23 กาแฟอีก 1 เป็นเพื่อน


« ตอบ #46 เมื่อ: ตุลาคม 24, 2007, 02:06:38 PM »

มองว่า วัตถุประสงค์คือใช้ยิงเป้ากระดาษ  หน้าตัดที่ตัดเป้ากระดาษ จะกลมสวย ดู รอยกระสุนง่าย

แต่ถ้าเข้าในตัวคนแล้วคน มันจะตรงกันข้ามกันครับ


 ส่วนใหญ่ลูกซ้อมจะใส่ดินน้อยกว่าลูกจริง รีคอยจะต่ำกว่า แรงปะทะต่ำกว่า แต่ก็มากเกินพอที่จะฆ่าคนได้

แต่ที่ไม่ใช่ติดปืน เพราะ  มองว่า เป็นลูกที่ทำมาเพื่อลดต้นทุน ขายราคาต่ำ  มาตราฐานมันจะต่ำกว่าลูกจริง  
ถ้าเก็บนานๆ อาจมีปัญหาเรื่องด้าน การซีลกันความชื้น ไม่ดีพอ

เห็นด้วย ตามน้องอู๋ ครับ..
ท่านที่นิยม ให้ความสำคัญกับลูกซ้อม ติดปืน..   
ต้องถามตัวเองว่า ความจริงแล้ว ท่านต้องการประหยัดเงิน ใช่หรือไม่

ถ้าใช่ ก็ควรต้องเลือกใช้กระสุนให้ตรงตามวัตถุประสงค์..
และจงตระหนักว่า โจร คนร้าย มันก็มีปืน และคนที่มากกว่าตัวท่าน..
อย่านำความประหยัด มาทำร้ายตัวท่านอีกเลย ครับ.   

กระสุนซ้อม.. ไม่ได้รับรองว่าจะมีมาตรฐานดีเหมือนกันทุกนัด. .
ถ้าท่านไปเจอปลอกบวมแล้วมาอัดซ้ำ .. บริษัทก็ไม่ได้รับผิดชอบให้ท่าน

ถ้าเป็นปืน auto ในยุคนี้ สาเหตุการติดขัด เกือบไม่ได้เกิดจากตัวปืน.
แต่มันเกิดจากกระสุนปืน.. ควรที่จะเลือกลูกจริง ที่มีการกำหนดมาตรฐาน
ควรหาสิ่งที่ เท่าที่จะดีได้ให้กับตัวเอง.. จึงจะถูกต้อง.  เยี่ยม

เรื่องความปลอดภัยในชีวิตตนเอง..  ไม่ใช่เรื่องจะมาประหยัด
และไม่ใช่เรื่องที่จะต้องมาเสี่ยงกันซ้ำซาก..  ครับ .  Smiley



บันทึกการเข้า

charkkrit
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 3
ออฟไลน์

กระทู้: 126



« ตอบ #47 เมื่อ: ตุลาคม 24, 2007, 02:11:17 PM »

เรื่องของเรื่อง...เรียกชื่อกระสุนหัวตะกั่ว...ผิด....
บันทึกการเข้า

ปืน..หนะยิงไม่ค่อยแม่นหรอกครับ แต่กล้าที่จะลั่นไกและ ชินกับมันก็พอ..
iji
Hero Member
*****

คะแนน 61
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1126


« ตอบ #48 เมื่อ: ตุลาคม 24, 2007, 03:33:47 PM »

หัวตะกั่วผมว่าบางครั้งคนโดนอาจจะอาการหนักกว่าหัวทองแดงอีกมั้งครับ
บันทึกการเข้า



ร้านอาหารญี่ปุ่น โชกุน โรงแรมดุสิตธานี  สมาชิก BladeReview , TG, SG, BMS, อวป ลด 10% ครับ
รับจัดอาหารญี่ปุ่น จัดเลี้ยงในและนอกสถานที่

tel.02-236-8029
SAGE-รักในหลวง
รักกันไว้เถิด เราเกิดร่วมแดนไทย
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 8
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 169



« ตอบ #49 เมื่อ: ตุลาคม 24, 2007, 03:48:48 PM »

ก็ตามที่ท่าน Charkkrit ว่าละมั้งครับ! (เอาไป 1 คะแนนครับผม Grin)สงสัยต้องเรียกแบบเต็มยศว่ากระสุนแบบ "Lead Round Nose (LRN)" ซะแล้วมั้งเนี่ย???
ปล.ถ้าผมไปอธิบายคุณเธอที่บ้านว่าที่ให้ยิงน่ะเป็นแบบหัวกระสุนตะกั่วล้วนๆ เขาเรียก LRN, แต่ที่อยู่ในอีกแม๊ก อันนั้นแพงอย่าเอาไปยิงเล่น เขาเรียกว่า แบบเคลือบแข็งเต็มหัวกระสุน "Full Metal Jacket (FMJ)" สงสัยคงมีคำถามจากคุณเธอตามมาอีกแยะเลย Grin
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 3 [4]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.173 วินาที กับ 22 คำสั่ง