เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
ตุลาคม 10, 2024, 02:23:50 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
โพลล์
คำถาม: ท่านคิดว่า พรบ.อาวุธปืนฯ   สมควรปรับปรุงแก้ไข หรือไม่
สมควรปรับปรุงแก้ไขทุกมาตรา - 31 (22.3%)
สมควรปรับปรุงแก้ไขบางมาตรา - 95 (68.3%)
ไม่สมควรปรับปรุงแก้ไข - 1 (0.7%)
ไม่ทราบรายละเอียดใน พรบ. - 11 (7.9%)
อื่น ๆ - 1 (0.7%)
จำนวนผู้โหวตทั้งหมด: 128

หน้า: [1] 2 3 4 ... 9
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: พระราชบัญญัติ อาวุธปืน (แก้ไข)  (อ่าน 21304 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 22 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
bbgun
speak boldly, freely, and plainly
Sr. Member
****

คะแนน 4
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 522


เว็บไซต์
« เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 06:46:50 PM »

ท่านใดยังไม่มี ....
พระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน
แจ้ง อีเมล์มานะครับ  ผมจะส่งไปให้...


บันทึกการเข้า

G. BKK
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 12
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3100


T: 081-44-22-833


« ตอบ #1 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 07:05:15 PM »

 Grin ขอด้วยครับ ขอบคุณครับ  Grin bkkdeejay@hotmail.com  หลงรัก
บันทึกการเข้า

         เป็น คนดี ให้เค้า เกรง            ดีกว่า เป็น นักเลง ให้เค้า กลัว             F*ck Off    I'm    Mixing !
bbgun
speak boldly, freely, and plainly
Sr. Member
****

คะแนน 4
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 522


เว็บไซต์
« ตอบ #2 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 07:40:14 PM »

ส่งให้แล้วนะครับ คุณ G. BKK
บันทึกการเข้า

51
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #3 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 07:51:58 PM »

การแก้ไข พรบ.อาวุธปืนฯ
ไม่ต้องทำ poll ก็ได้ครับ....

ผมตอบได้เลยว่า  ผลออกมาก็คือ...สมควรแก้ไขในบางมาตรา......

แต่จุดมุ่งหมาย....ในการแก้ไขนั้น...
ต้องเรียนสอบถามว่า...แก้ไขเพื่ออะไร....และด้วยเหตุใด.....

มิใช่ว่า  ปรับปรุงแก้ไขให้ประชาชนมีอาวุธปืนได้ยากขึ้น....

สังเกตได้จาก....พรบ. หรือกฎหมายต่าง ๆ ของประเทศ
จะเริ่มต้น...ด้วยคำว่า...ห้ามมิให้....

การกำหนดข้อบังคับต่าง ๆ ควรที่จะเป็นกรอบเพื่อให้ง่ายต่อการปฏิบัติ
มิใช่เป็นการจับผิด....

การทำ poll จะปรับปรุงนั้น....ต้องมีการแจ้งถึง...จุดมุ่งหมายในการปรับปรุงด้วย
ก็น่าจะเป็นการดี ครับ

จากนิ้ว...ที่จิ้มแป้น.....
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 31, 2005, 08:07:40 PM โดย 51 » บันทึกการเข้า
Tong
Newbie
*

คะแนน 0
ออฟไลน์

กระทู้: 15


« ตอบ #4 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 08:00:35 PM »

อยากได้บ้างครับ  wtongdee@amesco.co.th
บันทึกการเข้า
bbgun
speak boldly, freely, and plainly
Sr. Member
****

คะแนน 4
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 522


เว็บไซต์
« ตอบ #5 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 08:02:42 PM »

ขั้นตอนของการวิจัย

                    การวิจัยเป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาปัญหาที่เกิดจากพฤติกรรมและการกระทำของมนุษย์ที่เรียกว่า การวิจัยทางด้านพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ ซึ่งวิธีการที่นำมาใช้ในการศึกษาจะมีรูปแบบไม่แตกต่างจากระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ แต่อาจมีเทคนิคที่แตกต่างกันบ้างในรายละเอียดของขั้นตอน วิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่นำมาใช้เพื่อการแสวงหาความรู้ความจริงของมนุษย์สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ขั้นตอน คือ
                    1. ขั้นการกำหนดปัญหา (Problem) เป็นข้อสงสัย ความสนใจใคร่รู้ของผู้วิจัยในปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นหรือพบเห็น ว่ามีสาเหตุมาจากอะไร ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น การกำหนดปัญหา หรือหัวข้อปัญหาวิจัยเป็นคนละอย่างกับสภาพของปัญหา กล่าวคือ หัวข้อปัญหาเป็นข้อสรุป หรือความคิดรวบยอดของสภาพปัญหาซึ่งมีลักษณะเป็นข้อความสั้น ๆ ในขณะที่สภาพปัญหามีลักษณะเป็นข้อความบรรยาย หรือพรรณาที่มีความยาวเพื่อแสดงให้เห็นถึงสภาพของปัญหาที่ต้องการศึกษา ดังนั้น สภาพปัญหาจึงต้องมาก่อน มีก่อน หรือเกิดขึ้นก่อนปัญหาวิจัย การกำหนดปัญหา หรือการตั้งชื่อปัญหาวิจัยเป็นขั้นตอนนี้มีความสำคัญต่อการศึกษา หรือการวิจัยเป็นอย่างมาก และเป็นขั้นตอนที่มีความยุ่งยากเป็นอย่างมากเนื่องจากผู้วิจัยมักมีความสงสัยว่าจะเขียนหัวข้อปัญหา หรือกำหนดปัญหาอย่างไรจึงมีความเหมาะสมที่นำไปศึกษา
                    2. ขั้นการตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาถึงสภาพการเกิดของปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วจึงทำการคาดคะเนคำตอบของปัญหาวิจัยที่ต้องการศึกษาล่วงหน้า โดยการใช้ความรู้ที่ได้ศึกษาค้นคว้า และสติปัญญาอย่างรอบคอบมาเป็นแนวทางในการอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น และเป็นแนวทางในการทดลอง หรือศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องนั้นโดยตรง อาจเป็นข้อสรุปที่ไม่คงที่แต่อาจมีความจริง และสถานการณ์บางอย่างที่สัมพันธ์กับปรากฏการณ์นั้นอยู่ สมมติฐานที่ตั้งต้องมีความสอดคล้องกับชื่อปัญหาวิจัยและสภาพปัญหาที่ต้องการศึกษา
                    3. ขั้นทดลองและเก็บข้อมูล (Experimentation and Data Collection) เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยทำการศึกษาสิ่งที่เกี่ยวกับหัวข้อปัญหาที่กำหนดไว้โดยวิธีการทดลอง และทำการจัดเก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการทดลองแต่ละครั้งไว้ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ต้องมีความสัมพันธ์กับหัวข้อปัญหาและสภาพปัญหาที่ผู้วิจัยกำลังศึกษา ข้อมูลมีความสำคัญต่อผลการวิจัยเป็นอย่างมาก ถ้าข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ไม่ถูกต้อง มีความคาดเคลื่อน ย่อมส่งผลต่อการสรุปผลเพื่อตอบปัญหาวิจัยที่กำหนดไว้
                    4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) เป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมได้จากขั้นตอนที่ 3 มาทำการจัดกลุ่ม หมวดหมู่ ด้วยวิธีการทางสถิติถ้าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณที่ประกอบด้วยตัวเลขต่าง ๆ หรืออาจใช้วิธีการอื่น ๆ ในการจัดกระทำข้อมูลเหล่านั้น โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลไปตอบคำถามวิจัยที่ผู้วิจัยตั้งขึ้น ข้อพึงระวังในขั้นตอนนี้ คือ ถ้ามีการใช้สถิติในการวิเคราะห์ หรือจัดกระทำข้อมูล ผู้วิจัยจะต้องตระหนักถึงข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติต่าง ๆ ที่นำมาวิเคราะห์ข้อมูล ความถูกต้อง ความชัดเจน และความสอดคล้องกับข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้กับตัวแปรที่นำมาศึกษา ซึ่งนักวิจัยมักละเลยหรือไม่คำนึงถึงหลักเกณฑ์เหล่านี้
                    5. ขั้นการสรุปผล (Conclusion) เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการวิจัย ขั้นตอนนี้ผู้วิจัยต้องนำผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลในขั้นที่ 4 มาลงสรุปผล ดังนั้น ผลสรุปจะมีความถูกต้องชัดเจนเพียงใดขึ้นอยู่กับผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นสำคัญ ขั้นตอนนี้จึงเหมือนกับเป็นการตอบคำถามวิจัยที่ถูกตั้งไว้จากขั้นตอนที่ 1
                    จะเห็นว่าขั้นตอนทั้ง 5 ขั้นตอนนี้มีความสัมพันธ์กันเกี่ยวข้องกันทั้งหมด แต่ละขั้นตอนมีความสำคัญไม่มากน้อยกว่ากัน ดังนั้น ผู้วิจัยจะต้องตระหนักถึงความสัมพันธ์ของทุกขั้นตอนอย่างชัดเจน เพราะความถูกต้อง ชัดเจน และความน่าเชื่อถือของงานวิจัยขึ้นอยู่กับขั้นตอนต่าง ๆ ของการวิจัยตามที่นำเสนอมาแล้วข้างต้น

บันทึกการเข้า

BADBOY
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #6 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 08:08:47 PM »

น่าจะปรับปรุงได้แล้วครับ (ในทางที่เป็นสากลและทางที่ดีขึ้น)
บันทึกการเข้า
51
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #7 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 08:10:23 PM »

คริ คริ  ผมไม่เคยวิจัย...ในเรื่องนี้....หรอกครับ......

เพราะ...หน่วยงานผมถือว่า...คนร่างระเบียบ...ไม่ได้ปฏิบัติ....
คนปฏิบัติ...ไม่ได้เป็นคนร่าง....คริ คริ

จากนิ้ว...ที่จิ้มแป้น....



บันทึกการเข้า
นายพัน
Newbie
*

คะแนน 0
ออฟไลน์

กระทู้: 17


« ตอบ #8 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 08:17:09 PM »

ขอบอกอย่างไม่อายว่า...ยังไม่รู้รายละเอียดทั้งหมดทุกมาตรา...

ทำให้ พวกเราต้องกลับมาทบทวนตัวเอง....

ว่า เรื่องนี้สำคัญมาก หากคนในวงการ ไม่ตั้งประเด็นขึ้นมา....

แล้วเราจะหวังพึ่งใคร...  ให้แก้ไขปรับปรุง พรบ.อาวุธปืน...

ลองถามตัวเองดูซิว่า....คุณรู้เรื่องนี้ดีแค่ไหน...
บันทึกการเข้า
51
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #9 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 08:32:23 PM »

อันดับแรก....ต้องเรียนสอบถามก่อนว่า...
การแก้ไขปรับปรุง พรบ.ฯ โดยเฉพาะ พรบ. อาวุธปืนฯ เท่าที่ผ่านมานั้น
มีการแก้ไขเพราะ...เหตุใด....
สังเกตได้จาก....บทท้ายที่ระบุไว้ตอนท้ายของ พรบ. ทุก ๆ ฉบับ....
กรอบกำหนดมิได้กำหนดมาเพื่อกลุ่มคน กลุ่มใด เป็นการเฉพาะ...(โดยเฉพาะผู้ที่ไม่มีอำนาจ...ผู้ที่มิได้เป็นผู้รักษาการตาม พรบ.)

คณะกรรมการฯ ทุก ๆ ชุดที่ตั้งขึ้นมา.....
เพื่อพิจารณาแก้ไข....เคยนำความเห็น...ซึ่งเราคิดว่า....
ผู้เล่นปืนเป็นส่วนใหญ่ของประเทศกระมัง ครับ
ไปประกอบการพิจารณา...หรือไม่....

เห็นดีด้วยครับ...ในการแก้ไข....
แต่...ถ้าผมเป็น ผู้รักษาการตาม พรบ. ผมจะลงนามแต่งตั้ง...
ใครเป็นประธานกรรมการดีน๊า.......

อ.โคทม....หรือว่า ส.ว.ดำรง.... หรือว่า...อ.ผณิศวร...ล่ะครับ คริ คริ

แค่ประธานกรรมการฯ ก็เดาผลออกแล้ว....คริ คริ

ผมถึงเรียนไงครับว่า...ผู้ร่าง...อาจไม่มีความเห็นดี เห็นงามในอาวุธปืน...ก็เป็นได้...
หรืออาจมีความเห็นดี เห็นงามก็เป็นได้.....

การ lobby คณะกรรมการฯ นี่แหละครับ...เป็นขั้นตอนที่สำคัญประการหนึ่ง



จากนิ้ว...ที่จิ้มแป้น..... 

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 31, 2005, 09:13:44 PM โดย 51 » บันทึกการเข้า
ekkawit
รักกันจริง ยิงกันจัง แต่ตังต้องเยอะ
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 5
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 4655


คิดให้ไกล และต้องไปให้ถึง


« ตอบ #10 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 08:38:47 PM »

ผมโหวตข้อสองนะครับ Cool Cool Cool
บันทึกการเข้า

รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง
bbgun
speak boldly, freely, and plainly
Sr. Member
****

คะแนน 4
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 522


เว็บไซต์
« ตอบ #11 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 09:03:21 PM »

ส่ง พรบ.อาวุธปืนฯ  ให้ คุณ wtongdee@amesco.co.th  ไว้ศึกษาแล้วครับ

แล้วค่อยคุยกันในรายละเอียด  ว่า...มาตราไหนบ้าง ที่น่าสนใจ ถ้ามีการปรับปรุงแล้ว

จะเป็นประโยชน์กับผู้รักษากฎหมายและผู้ปฏิบัติตามกฎหมาย

ผมว่าไม่แน่นะครับ...อาจจะมีความคิดเห็นของบางท่าน ไปอยู่ใน พรบ.ฉบับใหม่ก็ได้นะครับ

เสนอไปได้ที่...คณะทำงานติดตามการแก้ไข พรบ.อาวุธปืน

ผมอ่านหนังสืออาวุธปืนเกือบทุกเล่มครับ...โดยเฉพาะหน้า 148-149

เคยช่วยเพื่อนไม่ให้ไปนอนตารางมาแล้วครับ...

 

บันทึกการเข้า

ธำรง
Hero Member
*****

คะแนน 1727
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 8568


.....รักในหลวง.....


« ตอบ #12 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 09:13:24 PM »

ไม่มีอะไรสมบูรณ์ไปทุกสิ่ง
แต่ในวันนี้ กับแนวคิดของผู้ถืออำนาจ ประชาธิปไตยหัวใจเผด็จการ
ผมไม่คิดว่าจะออกมาเป็นคุณกับประชาชน
อย่าเพิ่งให้ใครมาแตะจะดีกว่า
บันทึกการเข้า
อั๋น
ยอมแพ้ในวันนี้ เพื่อชนะในวันพรุ่งนี้
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 139
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3109



« ตอบ #13 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 09:26:58 PM »

ผมกลัวออกมาแล้ว รัฐได้เปรียบ ประชาชนเสียเปรียบครับ :Smiley
บันทึกการเข้า

มาด้วยใจ ไปด้วยกัน
day<รักในหลวง>
อดีตคือบทเรียน ปัจจุบันคือข้อสอบ
Full Member
***

คะแนน 25
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 442



« ตอบ #14 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2005, 10:26:19 PM »

ขอรบกวนด้วยครับ dphayao@hotmail.com
ขอบคุณครับ
บันทึกการเข้า
หน้า: [1] 2 3 4 ... 9
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.085 วินาที กับ 24 คำสั่ง