Nero Angel01
Hero Member
คะแนน 275
ออฟไลน์
กระทู้: 3048
|
|
« เมื่อ: มกราคม 09, 2012, 09:18:17 PM » |
|
วิทยาศาสตร์มันไปไกลขนาดนั้นแล้วหรือครับ ผมคิดไม่ออกว่าจะมีกรณีใหนที่มีDNAให้ตรวจในปลอกกระสุน คนบรรจุกระสุนลงแมกทำรังแคร่วงไปติดหรืออย่างไร
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
kohcz
Full Member
คะแนน 5
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 129
|
|
« ตอบ #1 เมื่อ: มกราคม 09, 2012, 09:49:12 PM » |
|
เทคโนโลยีนี้สามารถตรวจสอบได้กับบุคคลสำคัญและคนมีชื่อเสียง+ไฮโซ แต่ใช้ไม่ได้กับตาสีตาสา
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อรชุน-รักในหลวง
หมู่โลหิต O
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 1599
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 10265
ขาย-อัพเกรด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
|
|
« ตอบ #2 เมื่อ: มกราคม 09, 2012, 10:05:23 PM » |
|
วิทยาศาสตร์มันไปไกลขนาดนั้นแล้วหรือครับ ผมคิดไม่ออกว่าจะมีกรณีใหนที่มีDNAให้ตรวจในปลอกกระสุน คนบรรจุกระสุนลงแมกทำรังแคร่วงไปติดหรืออย่างไร
ใช้มือเปล่าบรรจุกระสุนรึเปล่าถ้าใช่ จะมีคราบเหงื่อ,ไขมัน,ลายนิ้วมือติดอยู่ที่ปลอกกระสุน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nero Angel01
Hero Member
คะแนน 275
ออฟไลน์
กระทู้: 3048
|
|
« ตอบ #3 เมื่อ: มกราคม 09, 2012, 10:54:15 PM » |
|
ใช้มือเปล่าบรรจุกระสุนรึเปล่าถ้าใช่ จะมีคราบเหงื่อ,ไขมัน,ลายนิ้วมือติดอยู่ที่ปลอกกระสุน
ผมขอทราบวิธีการสกัดได้มั้ยครับพี่อรชุน คือผมสงสัยมากจริงๆ พอดีผมพอจะมีความรู้ดานเคมีมานิดๆหน่อยๆ ในเหงื่อจะมีกรดแลคติกเมื่อทำปฏิกริยากับทองแดง(ปลอกกระสุน) มันก็คือตัวทำลายDNAดีๆนี่เอง +กับความร้อนในขณะยิง ซึ่งก็สูงมาก ในเขม่าดินปืนเองก็มีกรดอยู่ด้วย DNAไม่น่าเหลือซาก2กระบวณการนี้แล้ว เขาสกัดมันออกมาได้อย่างไร เพราะกรณีนี้ต่างจากเสื้อผ้า หมวก ถุงมือ กกน.หรืออะไรที่ดูดซับเหงื่อมากๆครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
ผณิศวร เกิดในรัชกาลที่ ๙
Guns & Games Staff
Hero Member
คะแนน 1428
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 6023
|
|
« ตอบ #4 เมื่อ: มกราคม 10, 2012, 07:55:05 AM » |
|
"สับขาหลอก"
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ผมเป็นลูกหลานจีนอพยพ ทวดแซ่อิ๊ว ตาแซ่เล้า ปู่แซ่อึ๊ง เมืองไทยให้โอกาสทุกอย่าง ไม่มีข้ออ้างเรื่องชนชั้น ผมได้กราบแทบพระบาทในหลวงเป็นมงคลสูงสุดของชีวิต
|
|
|
คนส่องกล้อง
ปัจจตัง
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 158
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1805
|
|
« ตอบ #5 เมื่อ: มกราคม 10, 2012, 08:16:41 AM » |
|
"สับขาหลอก"
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Justice19
Full Member
คะแนน 27
ออฟไลน์
กระทู้: 216
|
|
« ตอบ #6 เมื่อ: มกราคม 10, 2012, 10:05:57 AM » |
|
โครงสร้างของดีเอ็นเออยู่ในรูปเกลียวคู่ โดยดีเอ็นเอ 2 สาย เรียงตัวในแนวตรงกันข้ามกัน สายหนึ่งอยู่ในทิศทาง 3 ไป 5 อีกสายอยู่ในทิศทาง 5 ไป 3 โดยทั้งสองสายนำส่วนที่เป็นน้ำตาลดีออกซีไรโบสไว้ด้านนอก หันด้านที่เป็นเบสเข้าหากัน โดยเบสที่อยู่ตรงข้ามกันต้องเป็นเบสคู่สมกัน การพันเกลียวของดีเอ็นเอเป็นแบบเกลียวคู่ (Double-helix) ซึ่งมีร่อง (Groove) 2 แบบคือร่องขนาดใหญ่ ขนา 12 อังสตรอม ร่องขนาดเล็กขนาด 6 อังสตรอม 1 รอบของดีเอ็นเอประกอบด้วยเบสจำนวน 10 คู่เบส ห่างกัน 34 อังสตรอม เบสแต่ละตัวห่างกัน 3.4 อังสตรอม ความกว้างระหว่างสายเป็น 20 อังสตรอม โครงสร้างดีเอ็นเอที่กล่าวถึงข้างต้นเป็นโครงสร้างดีเอ็นเอแบบที่พบทั่วไปในสิ่งมีชีวิตเรียก B-DNA นอกจากนี้ยังมีดีเอ็นเออีก 2 แบบคือ A-DNA เป็นเกลียววนขวาเช่นกันแต่มีระยะของคู่เบสและเส้นผ่านศูนย์กลางของเกลียวคู่ต่างไปจาก B-DNA กับแบบ Z-DNA เป็นดีเอ็นเอวนซ้ายแบบซิกแซก โดยทั่วไปดีเอ็นเอในสิ่งมีชีวิตเป็นแบบ B-DNA ยกเว้นในบางสภาวะเช่น มีความเข้มข้นของเกลือสูงจึงเปลี่ยนเป็นรูป Z-DNA ในสภาพความเป็นกรด-เบสในร่างกาย ดีเอ็นเอมีฤทธิ์เป็นกรดและแตกตัวให้ประจุลบ ดีเอ็นเอที่อยู่ในรูปเกลียวคู่นี้สามารถทำให้แยกออกจากกันได้ เรียกว่าการทำให้เสียสภาพ (Denaturation) ซึ่งเกิดจากการที่ดีเอ็นเอได้รับความร้อน รังสีเอ็กซ์ หรือสารเคมีบางตัว ทำให้พันธะไฮโดรเจนที่ยึดระหว่างดีเอ็นเอถูกทำลาย สายคู่ของดีเอ็นเอจึงแยกออกจากกัน เมื่อสภาพที่ทำให้ดีเอ็นเอเสียสภาพหมดไป ดีเอ็นเอจะกลับเข้ามารวมตัวเป็นเกลียวคู่ได้ใหม่ เรียกว่าการคืนสภาพ (Renaturation)
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
ไก่เฮง รักในหลวง
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 169
ออฟไลน์
กระทู้: 1826
รักเธอประเทศไทย
|
|
« ตอบ #7 เมื่อ: มกราคม 10, 2012, 10:10:27 AM » |
|
...ผมไม่เชื่อ เวอร์
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
...ชีวิตทุกชีวิตมีคุณค่า ใช่รอชะตาวาสนานำไป ความรู้ทุกคนเรียนทันกันได้ สุดแต่สนใจ ทุนทรัพย์ สติปัญญา
|
|
|
Note Wing7
Jr. Member
คะแนน 5
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 64
|
|
« ตอบ #8 เมื่อ: มกราคม 10, 2012, 11:02:26 AM » |
|
การพิสูจน์ทางนิติวิทยาศาสตร์ กรณีแค่จับหรือสัมผัสวัตถุสามารถตรวจสอบได้จริงครับ ผมยืนยัน แต่กรณีปลอกกระสุนที่ถูกยิงไปแล้วพิสูจน์ตัวบุคคลได้รึไม่ถ้ามีสมาชิกท่านใดที่เคยเรียนวิชานิติวิทยาศาสตร์ ตร.มา ขอความรู้ไว้ประดับด้วยครับ เรื่องนี้น่าสนใจ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
พฤกษภผกาสร อีกกุญชรอัดปลดปลง โททนเสน่งคง สำคัญหมายในกายมี นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรี สถิตย์ทั่วแต่ชั่วดี ประดับไว้ในโลกา
|
|
|
HS1BTI
Full Member
คะแนน 30
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 429
Get up stand up don't give up the Fight.
|
|
« ตอบ #9 เมื่อ: มกราคม 10, 2012, 11:33:23 AM » |
|
ใช้มือเปล่าบรรจุกระสุนรึเปล่าถ้าใช่ จะมีคราบเหงื่อ,ไขมัน,ลายนิ้วมือติดอยู่ที่ปลอกกระสุน
ผมขอทราบวิธีการสกัดได้มั้ยครับพี่อรชุน คือผมสงสัยมากจริงๆ พอดีผมพอจะมีความรู้ดานเคมีมานิดๆหน่อยๆ ในเหงื่อจะมีกรดแลคติกเมื่อทำปฏิกริยากับทองแดง(ปลอกกระสุน) มันก็คือตัวทำลายDNAดีๆนี่เอง +กับความร้อนในขณะยิง ซึ่งก็สูงมาก ในเขม่าดินปืนเองก็มีกรดอยู่ด้วย DNAไม่น่าเหลือซาก2กระบวณการนี้แล้ว เขาสกัดมันออกมาได้อย่างไร เพราะกรณีนี้ต่างจากเสื้อผ้า หมวก ถุงมือ กกน.หรืออะไรที่ดูดซับเหงื่อมากๆครับ สนับสนุนความคิดของท่าน....
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
TOO MANY GUNS. NOT ENOUGH FUNDS !
|
|
|
Black OPS
Jr. Member
คะแนน 4
ออฟไลน์
กระทู้: 48
|
|
« ตอบ #10 เมื่อ: มกราคม 10, 2012, 01:25:24 PM » |
|
โครงสร้างของดีเอ็นเออยู่ในรูปเกลียวคู่ โดยดีเอ็นเอ 2 สาย เรียงตัวในแนวตรงกันข้ามกัน สายหนึ่งอยู่ในทิศทาง 3 ไป 5 อีกสายอยู่ในทิศทาง 5 ไป 3 โดยทั้งสองสายนำส่วนที่เป็นน้ำตาลดีออกซีไรโบสไว้ด้านนอก หันด้านที่เป็นเบสเข้าหากัน โดยเบสที่อยู่ตรงข้ามกันต้องเป็นเบสคู่สมกัน การพันเกลียวของดีเอ็นเอเป็นแบบเกลียวคู่ (Double-helix) ซึ่งมีร่อง (Groove) 2 แบบคือร่องขนาดใหญ่ ขนา 12 อังสตรอม ร่องขนาดเล็กขนาด 6 อังสตรอม 1 รอบของดีเอ็นเอประกอบด้วยเบสจำนวน 10 คู่เบส ห่างกัน 34 อังสตรอม เบสแต่ละตัวห่างกัน 3.4 อังสตรอม ความกว้างระหว่างสายเป็น 20 อังสตรอม โครงสร้างดีเอ็นเอที่กล่าวถึงข้างต้นเป็นโครงสร้างดีเอ็นเอแบบที่พบทั่วไปในสิ่งมีชีวิตเรียก B-DNA นอกจากนี้ยังมีดีเอ็นเออีก 2 แบบคือ A-DNA เป็นเกลียววนขวาเช่นกันแต่มีระยะของคู่เบสและเส้นผ่านศูนย์กลางของเกลียวคู่ต่างไปจาก B-DNA กับแบบ Z-DNA เป็นดีเอ็นเอวนซ้ายแบบซิกแซก โดยทั่วไปดีเอ็นเอในสิ่งมีชีวิตเป็นแบบ B-DNA ยกเว้นในบางสภาวะเช่น มีความเข้มข้นของเกลือสูงจึงเปลี่ยนเป็นรูป Z-DNA ในสภาพความเป็นกรด-เบสในร่างกาย ดีเอ็นเอมีฤทธิ์เป็นกรดและแตกตัวให้ประจุลบ ดีเอ็นเอที่อยู่ในรูปเกลียวคู่นี้สามารถทำให้แยกออกจากกันได้ เรียกว่าการทำให้เสียสภาพ (Denaturation) ซึ่งเกิดจากการที่ดีเอ็นเอได้รับความร้อน รังสีเอ็กซ์ หรือสารเคมีบางตัว ทำให้พันธะไฮโดรเจนที่ยึดระหว่างดีเอ็นเอถูกทำลาย สายคู่ของดีเอ็นเอจึงแยกออกจากกัน เมื่อสภาพที่ทำให้ดีเอ็นเอเสียสภาพหมดไป ดีเอ็นเอจะกลับเข้ามารวมตัวเป็นเกลียวคู่ได้ใหม่ เรียกว่าการคืนสภาพ (Renaturation) เยื่ยมเลยครับ+1ให้เลย.
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Steel90
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 153
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 2630
|
|
« ตอบ #11 เมื่อ: มกราคม 10, 2012, 01:30:48 PM » |
|
ผมมันคนความรู้น้อย ยิ่งอ่าน ยิ่ง งง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SNIPER™
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 85
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1441
|
|
« ตอบ #12 เมื่อ: มกราคม 10, 2012, 02:20:50 PM » |
|
โครงสร้างของดีเอ็นเออยู่ในรูปเกลียวคู่ โดยดีเอ็นเอ 2 สาย เรียงตัวในแนวตรงกันข้ามกัน สายหนึ่งอยู่ในทิศทาง 3 ไป 5 อีกสายอยู่ในทิศทาง 5 ไป 3 โดยทั้งสองสายนำส่วนที่เป็นน้ำตาลดีออกซีไรโบสไว้ด้านนอก หันด้านที่เป็นเบสเข้าหากัน โดยเบสที่อยู่ตรงข้ามกันต้องเป็นเบสคู่สมกัน การพันเกลียวของดีเอ็นเอเป็นแบบเกลียวคู่ (Double-helix) ซึ่งมีร่อง (Groove) 2 แบบคือร่องขนาดใหญ่ ขนา 12 อังสตรอม ร่องขนาดเล็กขนาด 6 อังสตรอม 1 รอบของดีเอ็นเอประกอบด้วยเบสจำนวน 10 คู่เบส ห่างกัน 34 อังสตรอม เบสแต่ละตัวห่างกัน 3.4 อังสตรอม ความกว้างระหว่างสายเป็น 20 อังสตรอม โครงสร้างดีเอ็นเอที่กล่าวถึงข้างต้นเป็นโครงสร้างดีเอ็นเอแบบที่พบทั่วไปในสิ่งมีชีวิตเรียก B-DNA นอกจากนี้ยังมีดีเอ็นเออีก 2 แบบคือ A-DNA เป็นเกลียววนขวาเช่นกันแต่มีระยะของคู่เบสและเส้นผ่านศูนย์กลางของเกลียวคู่ต่างไปจาก B-DNA กับแบบ Z-DNA เป็นดีเอ็นเอวนซ้ายแบบซิกแซก โดยทั่วไปดีเอ็นเอในสิ่งมีชีวิตเป็นแบบ B-DNA ยกเว้นในบางสภาวะเช่น มีความเข้มข้นของเกลือสูงจึงเปลี่ยนเป็นรูป Z-DNA ในสภาพความเป็นกรด-เบสในร่างกาย ดีเอ็นเอมีฤทธิ์เป็นกรดและแตกตัวให้ประจุลบ ดีเอ็นเอที่อยู่ในรูปเกลียวคู่นี้สามารถทำให้แยกออกจากกันได้ เรียกว่าการทำให้เสียสภาพ (Denaturation) ซึ่งเกิดจากการที่ดีเอ็นเอได้รับความร้อน รังสีเอ็กซ์ หรือสารเคมีบางตัว ทำให้พันธะไฮโดรเจนที่ยึดระหว่างดีเอ็นเอถูกทำลาย สายคู่ของดีเอ็นเอจึงแยกออกจากกัน เมื่อสภาพที่ทำให้ดีเอ็นเอเสียสภาพหมดไป ดีเอ็นเอจะกลับเข้ามารวมตัวเป็นเกลียวคู่ได้ใหม่ เรียกว่าการคืนสภาพ (Renaturation)
สรุปว่า เมื่อคืนสภาพแล้ว ยังตรวจได้หรือครับ?
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
hs9osv
Jr. Member
คะแนน 2
ออฟไลน์
กระทู้: 34
|
|
« ตอบ #13 เมื่อ: มกราคม 10, 2012, 03:07:29 PM » |
|
อย่ายิงคนเลยบาปนะโยม
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
wbchan04
Newbie
คะแนน 1
ออฟไลน์
กระทู้: 10
|
|
« ตอบ #14 เมื่อ: มกราคม 10, 2012, 03:17:16 PM » |
|
การพิสูจน์ทางนิติวิทยาศาสตร์ กรณีแค่จับหรือสัมผัสวัตถุสามารถตรวจสอบได้จริงครับ ผมยืนยัน แต่กรณีปลอกกระสุนที่ถูกยิงไปแล้วพิสูจน์ตัวบุคคลได้รึไม่ถ้ามีสมาชิกท่านใดที่เคยเรียนวิชานิติวิทยาศาสตร์ ตร.มา ขอความรู้ไว้ประดับด้วยครับ เรื่องนี้น่าสนใจ [/quote ถามคุณหมอพรทิพย์ฯน่าจะได้นะครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|