เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
กันยายน 30, 2024, 08:35:19 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: การผลิตปืนด้วยวิธีไหนดีที่สุด  (อ่าน 3731 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 3 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
hanuman
Jr. Member
**

คะแนน 4
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 78



« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2012, 10:00:41 AM »

อยากทราบเพื่อเป็นความรู้ครับ
ว่าการผลิตอาวุธปืนในปัจจุบันนั้น มีกี่วิธี และกรรมวิธีการผลิตแบบใดที่น่าจะดีที่สุด
ขอข้อดีและข้อเสียของแต่ละแบบด้วยนะครับ
เช่น การทุบขึ้นรูป, การหล่อ, การนำเหล็กตันมาแมชชีน ฯลฯ
ขอตัวอย่างยี่ห้อที่ใช้การผลิตในแบบนั้นๆด้วยก็ดีนะครับ ไหว้
     ขอบคุณครับ ไหว้
บันทึกการเข้า

ตึกระฟ้า ย่อมเริ่มจากอิฐก้อนแรกเสมอ
hanuman
Jr. Member
**

คะแนน 4
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 78



« ตอบ #1 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2012, 10:18:29 AM »

เคยอ่านอวป.เล่มเก่าๆเห็นบอกว่าTaurus PT1911 ผลิตด้วยวิธีทุบขึ้นรูป
ทีนี้ก็สงสัยว่า พอมาเป็นตัวPT1911SS สามารถใช้วิธีการผลิตแบบเดิมกับสเตนเลสได้ด้วยหรือเปล่า
และก็อยากทราบอีกว่า กรรมวิธีแต่ละแบบนั้น สามารถผลิตชิ้นส่วนชิ้นใดของปืนได้บ้าง
เช่นการทุบขึ้นรูป ใช้ผลิตสไลด์, ลำกล้องได้ แต่เมื่อใช้วิธีนี้ไปผลิตโครงปืน จะทำได้หรือไม่
หรืออาจทำได้ แต่จะดีเท่าวิธีนำเหล็กตันมาแมชชีนหรือไม่ เป็นต้นครับ ไหว้
บันทึกการเข้า

ตึกระฟ้า ย่อมเริ่มจากอิฐก้อนแรกเสมอ
ผณิศวร เกิดในรัชกาลที่ ๙
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 1428
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6023



« ตอบ #2 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2012, 10:33:02 AM »

เหมาทั้งกระบอกไม่ไหวครับ ลองแยกแต่ละชิ้นน่าจะได้คำตอบเร็วกว่า 
แม้แต่ชิ้นเดียวกัน พอออกแบบใหม่ก็อาจทำให้วิธีที่เหมาะสมเปลี่ยนไป
บันทึกการเข้า

ผมเป็นลูกหลานจีนอพยพ  ทวดแซ่อิ๊ว ตาแซ่เล้า ปู่แซ่อึ๊ง   
เมืองไทยให้โอกาสทุกอย่าง  ไม่มีข้ออ้างเรื่องชนชั้น
ผมได้กราบแทบพระบาทในหลวงเป็นมงคลสูงสุดของชีวิต
hanuman
Jr. Member
**

คะแนน 4
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 78



« ตอบ #3 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2012, 10:45:29 AM »

 ไหว้
เหมาทั้งกระบอกไม่ไหวครับ ลองแยกแต่ละชิ้นน่าจะได้คำตอบเร็วกว่า 
แม้แต่ชิ้นเดียวกัน พอออกแบบใหม่ก็อาจทำให้วิธีที่เหมาะสมเปลี่ยนไป

ขอบคุณครับอาจารย์ ไหว้
ถ้างั้น ขอแยกเป็นส่วนๆแล้วกันนะครับ
ขอเป็นปืนแบบของ1911 ว่าใช้วิธีใดผลิตดีกว่ากันในแต่ละชิ้นส่วนและเพราะอะไรถึงใช้วิธีนั้น
1.โครงปืน
2. สไลด์
3.ลำกล้อง
3ชิ้นหลักๆก็พอครับ ไหว้
บันทึกการเข้า

ตึกระฟ้า ย่อมเริ่มจากอิฐก้อนแรกเสมอ
submachine -รักในหลวง-
คนกินเหล้า อย่าให้เหล้ากินคน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 6127
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 55373


Let us go..!


« ตอบ #4 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2012, 11:06:42 AM »

วิธีที่ดีที่สุด คงตอบไม่ได้ เพราะเดี๋ยวนี้ ผู้ผลิตปืนหันมาคุมค่าใช้จ่ายอันเป็นต้นทุนกันมากกว่า
อย่างการหล่อขึ้นรูป(Investment Casting) ที่ว่าใช้ต้นทุนน้อยสุด ก็เหมาะกับบางชิ้นส่วน อย่าง
โครงปืน



แต่พอชิ้นส่วนอื่นๆ วิธีอื่นกลับเหมาะสมกว่า ลดต้นทุนได้และสามารถทำให้ได้ชิ้นส่วนที่มีคุณภาพได้
(อย่าถามว่า ชิ้นไหนใช้วิธีไหน ผมมีภูมิปัญญาแค่นี้  หัวเราะร่าน้ำตาริน )


บันทึกการเข้า

อย่าเห็นเป็น ความดี เล็กน้อย แล้วไม่กระทำ
อย่าเห็นเป็น ความชั่ว เล็กน้อย แล้วจึงกระทำ

Thanut Wansuk

ผณิศวร เกิดในรัชกาลที่ ๙
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 1428
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6023



« ตอบ #5 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2012, 02:28:24 PM »

ลองดู รูเกอร์ 1911 เป็นตัวอย่างแรกครับ บริษัทนี้ได้ชื่อว่าลดต้นทุนการผลิตเก่งกว่าเพื่อนฝูง
-โครงปืน  ใช้หล่อ investment cast แบบที่คุณซับนำมาให้ดู  รูเกอร์เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องนี้   และพาราฯ ก็ใช้วิธีนี้เช่นกัน  ทั้งคู่มีจุดคุยได้คือหลอดสปริงคุมห้ามไกเป็นเนื้อเดียวกับโครงไม่ต้องเอามาติดเพิ่ม
- สไลด์ ใช้วิธีกัดจากแท่งยาว (bar stock)  ตัด ไส เจาะ คว้าน
- ลำกล้อง ใช้วิธีกัดจากแท่งเช่นกัน  เจาะรูแล้วทำเกลียวด้วยวิธี broaching มีข้อสังเกตคือฐานโตงเตงเป็นเนื้อเดียวกับรังเพลิงและลำกล้อง  และบูชครอบลำกล้องตัดจากแท่งเดียวกัน  จุดนี้ถือว่าฉลาดมาก  เพราะลำกล้องมีฐานโตงเตงส่วนบูชมีขาจับจุกสปริง ทำให้ profile คล้ายกันครับ ประหยัดวัสดุได้หลายเปอร์เซนต์
บันทึกการเข้า

ผมเป็นลูกหลานจีนอพยพ  ทวดแซ่อิ๊ว ตาแซ่เล้า ปู่แซ่อึ๊ง   
เมืองไทยให้โอกาสทุกอย่าง  ไม่มีข้ออ้างเรื่องชนชั้น
ผมได้กราบแทบพระบาทในหลวงเป็นมงคลสูงสุดของชีวิต
Nero Angel01
Hero Member
*****

คะแนน 275
ออฟไลน์

กระทู้: 3048


« ตอบ #6 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2012, 05:06:31 PM »

ขออนุญาตใช้พื้นที่กระทู้

เกลียวในลำกล้องใช้วัสดุอะไรครับทนทานที่สุด เห็นมีเหล็ก(แบบใหนไม่รู้) กับเหล็กเสตนเลส ที่พวกอ้างว่าเบอร์ 418 418D
แล้วเกลียวในลำกล้อง ทำด้วยวิธีใหนสันเกลียวคมชัดสุดครับ
บันทึกการเข้า
นายอันตราย
สงบจิต สงบใจ
Hero Member
*****

คะแนน 26
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1319


ขอบคุณครับ


« ตอบ #7 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2012, 10:35:47 PM »

รบกวน สอบถามเพิ่มเติม เรื่องการผลิตลำกล้อง ครับ ผมได้ยินบ่อย ๆ กับคำว่า "แฮมเมอร์ฟรอส"

ส่วนตัวผมเข้าใจว่าเป็นการขึ้นเกลี่ยวโดยใช้ แท่งแบบใส่เข้าไปในท่อโลหะที่จะนำมาทำลำกล้อง แล้วใช้เครื่อง(ค้อน)ทุบท่อที่นำมาทำลำกล้องจนได้ขนาดและเป็นเกลียวตามขนาดที่ต้องการและเพื่อให้โลหะได้คุณสมบัติตามต้องการ

แต่เพื่อนผมบอกว่า ขบวนการ  "แฮมเมอร์ฟรอส" นั้นเป็นเพียงการใช้ค้อนเคาะเพื่อไล่ฟองอากาศซึ่งอยู่ในขั้นตอนการหล่อโลหะชิ้นนั้น ก่อนนำมาผ่านขบวนการขึ้นรูปเป็นลำกล้องอีกที หมายถึงเคาะไล่ฟองอากาศตอนยังเป็นของเหลวอยู่ เท่านั้นเอง  ตกใจ

ตกลงแล้ว  คำว่า  ลำกล้องผลิตด้วยกรรมวิธี "แฮมเมอร์ฟรอส" นั้น เป็นอย่างไรกันแน่ครับ
บันทึกการเข้า
Tanate(รักในหลวง)
Hero Member
*****

คะแนน 243
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2039



« ตอบ #8 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2012, 11:03:34 PM »

อ้างถึง
forging the barrel over a mandrel containing a reverse image of the rifling, and often the chamber as well (hammer forging);



ผมว่าท่านเข้าใจถูกแล้วนะครับ 

ตอนเรียนหล่อโลหะ ไม่เคยเจอว่าเอาค้อนไปเคาะไล่ฟองอากาศ มีแต่ผสมสารเคมีที่ช่วยไล่ฟองอากาศ และใช้ก๊าซเฉื่อยไล่อ๊อกซิเจนตอนเทน้ำโลหะครับ  ไหว้

ปกติชิ้นส่วนที่รับแรงมักจะใช้โลหะที่ผ่านการรีดมา เพราะจะมีความเค้นตกค้างชี้เข้าสู่จุดศูนย์กลาง(เป็นเวคเตอร์) เมื่อเอาไปใช้ทำลำกล้องเกิดแรงดันภายในจะมาหักล้างกับความเค้นตกค้างของโลหะนั้นๆ

ทำให้ลำกล้องรับแรงได้มากกว่าพวกเหล็กหล่อธรรมดาครับ (ผิดถูกประการใดโปรดชี้แนะ)  ไหว้
บันทึกการเข้า

โดนแล้วครับ นายอำเภอใจกับปลัดขิก เบื่อระบบข้าราชการไทย ของดเล่นปืนไปก่อนนะครับ
hanuman
Jr. Member
**

คะแนน 4
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 78



« ตอบ #9 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 21, 2012, 09:11:12 AM »

ขอบพระคุณทุกท่านครับ ไหว้
อย่างในกรณีที่เราจะซื้อปืนแบบ1911ซักกระบอกนึง
นอกจากเรื่องราคาแล้ว จะเอาเรื่องกรรมวิธีการผลิตมาเป็นปัจจัยในการตัดสินใจด้วยจะดีมั๊ยครับ
หรือว่าไม่จำเป็นต้องพิจารณาถึงขนาดนั้น ไหว้
บันทึกการเข้า

ตึกระฟ้า ย่อมเริ่มจากอิฐก้อนแรกเสมอ
submachine -รักในหลวง-
คนกินเหล้า อย่าให้เหล้ากินคน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 6127
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 55373


Let us go..!


« ตอบ #10 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 21, 2012, 09:45:18 AM »

ขออนุญาตใช้พื้นที่กระทู้

เกลียวในลำกล้องใช้วัสดุอะไรครับทนทานที่สุด เห็นมีเหล็ก(แบบใหนไม่รู้) กับเหล็กเสตนเลส ที่พวกอ้างว่าเบอร์ 418 418D
แล้วเกลียวในลำกล้อง ทำด้วยวิธีใหนสันเกลียวคมชัดสุดครับ

รอผู้รู้นะครับ
ระหว่างนี้ดูวิดีโอชุดนี้ไปพลางๆ
http://www.youtube.com/watch?v=eOo-muzMRp0&feature=related
บันทึกการเข้า

อย่าเห็นเป็น ความดี เล็กน้อย แล้วไม่กระทำ
อย่าเห็นเป็น ความชั่ว เล็กน้อย แล้วจึงกระทำ

Thanut Wansuk

นายอันตราย
สงบจิต สงบใจ
Hero Member
*****

คะแนน 26
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1319


ขอบคุณครับ


« ตอบ #11 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 21, 2012, 01:28:56 PM »

อ้างถึง
forging the barrel over a mandrel containing a reverse image of the rifling, and often the chamber as well (hammer forging);



ผมว่าท่านเข้าใจถูกแล้วนะครับ 

ตอนเรียนหล่อโลหะ ไม่เคยเจอว่าเอาค้อนไปเคาะไล่ฟองอากาศ มีแต่ผสมสารเคมีที่ช่วยไล่ฟองอากาศ และใช้ก๊าซเฉื่อยไล่อ๊อกซิเจนตอนเทน้ำโลหะครับ  ไหว้

ปกติชิ้นส่วนที่รับแรงมักจะใช้โลหะที่ผ่านการรีดมา เพราะจะมีความเค้นตกค้างชี้เข้าสู่จุดศูนย์กลาง(เป็นเวคเตอร์) เมื่อเอาไปใช้ทำลำกล้องเกิดแรงดันภายในจะมาหักล้างกับความเค้นตกค้างของโลหะนั้นๆ

ทำให้ลำกล้องรับแรงได้มากกว่าพวกเหล็กหล่อธรรมดาครับ (ผิดถูกประการใดโปรดชี้แนะ)  ไหว้

ขอบคุณครับ  ไหว้
บันทึกการเข้า
Ro@d - รักในหลวง
รักเธอ.. ประเทศไทย
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 4088
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 20186


1 คัน 1 ชีวิตที่อิสระ มี G23 กาแฟอีก 1 เป็นเพื่อน


« ตอบ #12 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 21, 2012, 03:10:53 PM »

ขอบคุณทุกท่าน ที่ให้ความรู้ + ๑ ให้ทุกท่าน ครับ.  ไหว้
บันทึกการเข้า

hanuman
Jr. Member
**

คะแนน 4
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 78



« ตอบ #13 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 23, 2012, 09:36:02 AM »

ขอบพระคุณทุกท่าน สำหรับความรู้ครับ ไหว้
บันทึกการเข้า

ตึกระฟ้า ย่อมเริ่มจากอิฐก้อนแรกเสมอ
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.06 วินาที กับ 22 คำสั่ง