โดยส่วนตัว ผมสงสัยว่า..
ทาง ตร. โดย บช.น. มีอะไรงัดกับ กรมขนส่งทางบก หรือไม่ ??
เช่นกรณี จนท.จร. แจกใบสั่ง แต่เจ้าของรถไม่ไปเสียค่าปรับ ก็สามารถต่อทะเบียนประจำปีได้
เพราะกรมขนส่งทางบกมีรายได้ จากการเสียภาษีเพื่อต่อทะเบียน
แต่ทำให้ จร. ไม่ได้รับค่าปรับ.. หรือว่าไม่ได้ตามเป้า?
แต่เรื่องซื้อรถใหม่ แล้วได้ป้ายช้า ไม่น่าโยนให้เป็นความผิดของประชาชนนะ
เรื่องรถหรูราคาแพงเป็นร้อยคัน นำเข้าเสียภาษีไม่ถูกต้อง
กรณีแบบนี้รัฐขาดรายได้มากกว่า กลับเงียบ !?!
ถ้านี่เป็นวิธีจัดการกับปัญหา ( ระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ) ของผู้บริหารระดับสูง
ที่พี่ให้มา ก็ปล่อยให้เดือดร้อนกันเยอะๆ
แล้วช่วยกันจำไว้ก็แล้วกัน คราวหน้าอย่าเลือก
( ขออภัย จขกท. ครับ ไปๆมาๆ เดี๋ยวกลายเป็นกระทู้การเมือง ไม่ได้ตั้งใจครับ
)
Ha Ha Ha ฮา "ฮั่นแ่น่" พี่ nithi i link อ่ะ ฮา
ไปถูกใครเขา "อำ" มา ว่าสองหน่วยงาน เขาขัดแย้งกัน ฮา
ความผิดที่เกี่ยวกับ พรบ. จราจร มันคนละเรื่องกับ พรบ. ภาษีอากร อ่ะ ฮา
ต่อให้ ยานพาหนะ เจ๊ง หมดสภาพ ใช้งานไม่ได้ ค่าภาษีมันก็เดิน ไม่หยุด อ่ะ ฮา
55555 ถ้าไม่ได้ไปแจ้ง "เลิกใช้" หรือ ม. 89 อ่ะ ฮา
เมื่อก่อนถ้าเราจะต่อ ชำระภาษีประจำปีรถยนต์ เราต้องเอาเล่มจาก ไฟแนนซ์ ไปแสดงอ่ะ ฮา
พอเราไม่จ่าย หรือ จ่ายค่างวดไม่ครบ เขาไม่ให้เล่ม เราถือไปต่อ อ่ะ ฮา
รถพวกนี้ก็วิ่ง สบายใจเฉิบ ไม่ต้องเสียภาษี อ่ะ ฮา
ต่อมามีการตีความว่า ค่าภาษีอากร เป็นรายได้รัฐ ไม่เกี่ยวไฟแนนซ์ หรือกลุ่มทุนธุรกิจ
ถ้าไม่จ่ายเงิน รัฐเป็นผู้เสียหาย ส่วนไฟแนนซ์เก็บเงินไม่ไ้ด้ เป็นเรื่องของ เอกชน คนลงทุน อ่ะ
จึงเป็นที่มาของการ ต่อทะเบียน โดยไม่ต้องใช้ "เล่ม" อ่ะ ฮา
ส่วนการนำเข้าชิ้นส่วน แล้วนำมาประกอบ ภายในประเทศ ฮา
ช่องทางนี้เป็นการ "หนี" ภาษี หลายตัว แจ่มแจ้งแดงแจ๋ อ่ะ ฮา
555 ตอนนี้ พรบ. ฉนับใหม่ ประกาศ ห้ามนำเข้า แล้ว ฮา
ส่วนพี่ "คนนี้ มีแต่ให้" ไม่เกี่ยวอะไรกับกระทู้ เลยอ่ะ ฮา