เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
พฤศจิกายน 27, 2024, 09:26:08 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เว็บบอร์ด อวป. สามารถเข้าได้ทั้งสองทาง คือ www.gunsandgames.com และ www.gunsandgames.net ครับ
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1] 2 3
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: เครื่องคูโบต้า..พัง..เพราะลากไดเชื่อมครับ  (อ่าน 6236 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 3 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 366
ออฟไลน์

กระทู้: 6023



« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 12:07:31 PM »

ผมไม่มีไฟฟ้าจึงเตรียมเครื่องคูโบต้า ET-95 ลากไดเชื่อม 3 KW ไว้ให้ช่างเชื่อมโครงหลังคา(มูเล่เครื่อง 3.5 นิ้ว,มูเล่ไดนาโม 4 นิ้ว คนขายบอกว่าตามหลักการมูเล่ที่ไดต้องใหญ่กว่าที่เครื่อง 1 นิ้ว)ไม่ใช้ตู้เชื่อมครับ ลากสายเชื่อมจากไดโดยตรง เชื่อมไปเชื่อมมา เครื่องพังครับ ไปฟิตมาใหม่แล้วกลัวจะพังอีก เพราะเวลาเชื่อมเกจ์ขึ้นถึง 300 โวลท์ เรียกว่าเร่งสนั่นเลย มีวิธีไหนบ้างครับที่จะช่วยให้มันทำงานเบาลง เช่นหาหม้อแปลงมาพ่วง หรือ วิธีใดก็ได้ครับ..ขอคำแนะนำด้วย   
บันทึกการเข้า
bingo 38
Jr. Member
**

คะแนน 15
ออฟไลน์

กระทู้: 82


« ตอบ #1 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 12:11:45 PM »

ใช้ลวดกี่มิลครับ...ลองใช้ลวดเล็กลง  หรือลองใช้มูเล่ที่ไดเป็น 5 นิ้ว
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 12:13:54 PM โดย bingo 38 » บันทึกการเข้า
Southlander
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 5711
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 48212



« ตอบ #2 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 12:12:21 PM »

หมายถึงเครื่องคูโบต้าพังหรือไดเชื่อมพังครับ
บันทึกการเข้า

๏ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง  แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง
ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง   จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง
                      
                             โดย:นภาลัย สุวรรณธาดา พศ.๒๕๑๐
submachine -รักในหลวง-
คนกินเหล้า อย่าให้เหล้ากินคน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 6127
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 55373


Let us go..!


« ตอบ #3 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 12:27:42 PM »

หมายถึงเครื่องคูโบต้าพังหรือไดเชื่อมพังครับ

ไปฟิตมาใหม่แสดงว่าเครื่องยนต์พัง
ลองขยายขนาดมู่เล่จากเครื่องครับ หรือลดขนาดมู่เล่ที่ไดฯ
บันทึกการเข้า

อย่าเห็นเป็น ความดี เล็กน้อย แล้วไม่กระทำ
อย่าเห็นเป็น ความชั่ว เล็กน้อย แล้วจึงกระทำ

Thanut Wansuk

R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 366
ออฟไลน์

กระทู้: 6023



« ตอบ #4 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 12:31:07 PM »

หมายถึงเครื่องคูโบต้าพังหรือไดเชื่อมพังครับ
-คูโบต้า 95 พังครับ..อาการแรก ๆ คือไม่มีแรง ช่างบอกวาล์วรั่ว เราก็เปลี่ยนมูเล่เครื่องให้เล็กลง(จาก 5นิ้ว ->3.5 นิ้ว) เปลี่ยนวาล์ว 2 ตัว คว้านบ่าวาล์ว ปะเก็นฝาสูบ กลับมาฟิตเปรี๊ยะเลย แต่ฟิตได้วันเดียววันที่ 2 พัง คราวนี้รื้อเปลี่ยนใหม่เกือบหมด เหลือไว้แต่กระบอกสูบ เครื่องนากุ้งมันโทรมอยู่แล้วครับ แต่ใช้งานอื่นได้ไม่มีอาการ พอเชื่อมหนัก ๆ ทั้งวันก็พังเลย
-ใช้ลวดเชื่อมทั่วไปนั่นแหละครับ ผมก็ไม่รู้ว่ากี่มิล. ผมว่าช่างเขาคงรู้ว่าควรใช้ลวดเชื่อม 2.2 หรือ 2.6 มิล        
บันทึกการเข้า
R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 366
ออฟไลน์

กระทู้: 6023



« ตอบ #5 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 12:35:26 PM »

ลุงช่างยนต์ที่ซ่อมเครื่องบอกว่าให้ลดขนาดมูเล่ที่ได ฯ ลงเหลือ 3 นิ้วก็พอ แกว่าเครื่องจะทำงานไม่หนักนัก ผมไม่รู้จะเชื่อแกดีหรือไม่ เพราะคนขายย้ำแล้วย้ำอีกว่ามูเล่ที่ไดต้องใหญ่กว่าที่เครื่อง 1 นิ้ว นี่แกเล่นจะให้เล็กลง
บันทึกการเข้า
Southlander
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 5711
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 48212



« ตอบ #6 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 12:41:53 PM »

เรื่องนี้มันมีหลักวิชาการทางไฟฟ้าร่วมกะเครื่องกลเดี๋ยวมาขยายความ
บันทึกการเข้า

๏ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง  แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง
ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง   จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง
                      
                             โดย:นภาลัย สุวรรณธาดา พศ.๒๕๑๐
นายกระจง
Cement For Life.....
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 2938
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 31460


ช่างมันเถอะ


« ตอบ #7 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 12:49:37 PM »

เรื่องนี้มันมีหลักวิชาการทางไฟฟ้าร่วมกะเครื่องกลเดี๋ยวมาขยายความ


ทำให้เครื่องสามารถเร่งรอบได้ตามโหลดที่เพิ่มขึ้นครับ แล้วเครื่องยนต์จะไม่แบกโหลดที่รอบต่ำมากเกินไปครับ
บันทึกการเข้า

เกิดเป็นคนต้องอดทน ไม่อดทนก็อดตาย
 
Southlander
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 5711
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 48212



« ตอบ #8 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 01:33:10 PM »

 เครื่องปั่นไฟที่ใช้ต้นกำลังจากกการปั่นของเครื่องยนต์นั้นก็เป็นไปตามหลักการๆกำเนิดไฟฟ้าคือเอาสนามแม่เหล็กไปหมุนตัดขดลวด(หรือกลับกันก็ได้)
และมีทั้งชนิดไฟตรงไฟสลับ
 ส่วนไดเชื่อมก็น่าจะเป็นไฟสลับแปลงเป็นไฟตรงด้วยอุปกรณ์พวก Thyristor (SCR) ที่แรงดันต่ำๆ ที่มีขั้ว+-
เวลาจะเชื่อมก็เหมือนลัดวงจรระหว่างขั้วทั้งสองด้วยลวดเชื่อมทำให้เกิดการอาร์คและความร้อนขึ้น
เรียกว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้ามีการจ่ายload หากมีการเชื่อมมากขึ้นก็กินไฟมากขึ้น
 ทีนี้จะเกิดปรากฏการข้างเคียงขึ้นมาด้วยขณะจ่ายโหลดคือมีกระแสไหลในวงจร แต่กระแสนี้จะไหลในทิศทางตรงกันข้าม
กับกระแสที่จ่ายโหลด เปรียนเสมือนคนๆหนึ่งกำลังแบกหินหนักหรือถุงปูน อยู่บนบ่า แล้วเดินขึ้นเขา
แรงที่ร่างกายออกกำลังแบกปูนขึ้นเขาก็เปรียบเสมือนแรงที่จ่ายโหลดไปของเครื่องเชื่อม
แต่ในขณะที่ชายคนนี้กำลังออกแรงเดินขึ้นเขาอยู่นั้นก็มีอีกแรงหนึ่งสวนทางดึงเขาลงมา แต่เรามองไม่เห็น นั่นคือแรงโน้มถ่วงของโลก
ที่ดึงมวลของถุงปูนให้คนแบกเหนื่อล้ามากขึ้นๆ หากโหลดเพิ่มขึ้นอีก ก็เหมือนกับเพิ่มถุงปูนเข้าไปอีก ชายคนนี้ก็ต้องออกแรงมากขึ้นๆ
ตาม นน.ปูนที่เพิ่มขึ้นมา หากเพิ่มถุงปูนเข้าไปมากขึ้นๆๆ ชายคนนี้ก็แบกไม่ไหว ล้มเผละลงตรงนั้นแหละ
 ชายคนนี้ก็คือเครื่องยนต์คูโบต้าของคุณ

 แล้วจะแก้ปัญหายังไง
 - เพิ่มกำลังให้เขา (เปลี่ยนเครื่อง/เปลี่ยนเกียร์)
 - ลดโหลดลงมา (ลดขนาดเหล็ก/ขนาดลวดเชื่อม)
  ที่แก้กันก็คงจะ เพิ่มกำลังให้มากขึ้น นั่นก็คือ ที่มาของการใช้ความรู้ด้านเครื่องกลเข้าไปช่วยโดยเล่นกับอัตตราทดของเกียร์
ในที่นี้ก็คือ สายพานกับมูเลย์ จะเพิ่มจะลดด้านไหนเท่าไหร่ เรื่องนี้ผมไม่ชำนาญใครจบเครื่องกลก็ มารับไปตอบต่อที
บันทึกการเข้า

๏ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง  แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง
ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง   จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง
                      
                             โดย:นภาลัย สุวรรณธาดา พศ.๒๕๑๐
Southlander
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 5711
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 48212



« ตอบ #9 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 01:46:04 PM »

อืม ผมคิดเล่นๆ โดยที่ความรู้เรื่องการคำณวนด้านเครื่องกล เรื่องรอก เกียร์ เพลาๆ ต่างๆเข้าหม้อไปหมดแล้ว


มาว่ากันแบบบ้านๆ ไม่รู้หลักวิชาการกัน ที่คนขายแนะนำว่า

คนขายบอกว่าตามหลักการมูเล่ที่ไดต้องใหญ่กว่าที่เครื่อง 1 นิ้ว

 คำแนะนำนั้นเป็นไปตามหลักการของมอเตอร์ไซค์ที่ขับด้วยโซ่ โดยที่เราสังเกตเห็นคือ
เฟืองขับที่เครื่องยนต์มอเตอร์ไซค์(สเตอร์หน้า) มันเล็กกว่าเฟืองตาม(สเตอร์หลัง)เสมอ
มันจึงจะมีแรงหมุนล้อหลังไปได้
 ผมเดาว่าคนขาย น่าจะพูดถูกครับ
      Grin Grin Grin
บันทึกการเข้า

๏ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง  แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง
ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง   จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง
                      
                             โดย:นภาลัย สุวรรณธาดา พศ.๒๕๑๐
folk99-รักในหลวง
จงหวังให้สูงสุดแต่อย่าหยุดเมื่อผิดหวัง
ชาว อวป.
Sr. Member
****

คะแนน 85
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 580



« ตอบ #10 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 01:50:37 PM »

เช่าเครื่องเชื่อมสนามดีกว่ามั้ย หรือเปลี่ยนเครื่องเชื่อมเป็นแบบอินเวอร์เตอร์
บันทึกการเข้า
R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 366
ออฟไลน์

กระทู้: 6023



« ตอบ #11 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 01:56:52 PM »

เช่าเครื่องเชื่อมสนามดีกว่ามั้ย หรือเปลี่ยนเครื่องเชื่อมเป็นแบบอินเวอร์เตอร์
ไม่มีให้เช่าครับ
บันทึกการเข้า
lek
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1594
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 13942


การแบ่งปัน ทำให้เราและคนอื่นมีความสุข


« ตอบ #12 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 02:21:59 PM »

ให้ลูกน้องไปใช้อินเวคเตอร์ก็พังไป2เครื่อง  ถ้าเอาง่ายๆเชื่อมแก๊สอะซิทิลีน+ออกซิเยนดีกว่า  เปลี่ยนเบอร์หัวเชื่อมเอา
บันทึกการเข้า

มีความสุขแบบที่เรามีก็พอhttp://www.gunsandgames.com/smf/index.php?board=29.0  (รวมพลคนอีสาน)
folk99-รักในหลวง
จงหวังให้สูงสุดแต่อย่าหยุดเมื่อผิดหวัง
ชาว อวป.
Sr. Member
****

คะแนน 85
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 580



« ตอบ #13 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 02:40:53 PM »

ให้ลูกน้องไปใช้อินเวคเตอร์ก็พังไป2เครื่อง  ถ้าเอาง่ายๆเชื่อมแก๊สอะซิทิลีน+ออกซิเยนดีกว่า  เปลี่ยนเบอร์หัวเชื่อมเอา
เห็นมีโฆษณาเครื่องสีเขียวๆเชื่อมลวด 4 มิล 100 เส้นไม่มีการพัก ไม่น็อค
บันทึกการเข้า
R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 366
ออฟไลน์

กระทู้: 6023



« ตอบ #14 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2013, 03:04:18 PM »

เครื่ออินเวคเตอร์เป็นอย่างไรครับ..ใช่ตู้เชื่อมระดับเทพในโฆษณาโทรทัศน์ รึเปล่า ?
บันทึกการเข้า
หน้า: [1] 2 3
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.044 วินาที กับ 22 คำสั่ง