เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
พฤศจิกายน 27, 2024, 07:23:50 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เวบบอร์ดอวป.ยินดีต้อนรับสุภาพชนทุกท่าน กรุณาใช้คำสุภาพด้วยครับ
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 2 [3]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: เครื่องคูโบต้า..พัง..เพราะลากไดเชื่อมครับ  (อ่าน 6218 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 366
ออฟไลน์

กระทู้: 6023



« ตอบ #30 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 22, 2013, 12:31:07 PM »

              ใช้ใด้ครับผมก็ใช้มาหลายปีแล้วตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ยังไม่พังเลยครับ ทำโครงหลังคา 

              ปะแท๊งค์น้ำ ยันเชื่อมผานรถไถนา ตอนนี้ใช้แต่อินเวอร์เตอร์ครับ เคลื่อนย้ายง่ายดีไม่หนัก 
 
             ตู้พลังจะขนย้ายแต่ละที อยู่คนเดียวต้องขึ้นรอกโซ่ยกไส่กระบะรถ 

                    งานเล็กๆไม่หนักมาก ใช้ตู้อินเวอร์เตอร์ก็สะดวกดีครับ เลื่อกดูยี่ห้อดีๆหน่อย 
ยืนยันอีกเสียงครับ ของผมเป็นเครื่องจักรกลหนัก เมื่อก่อนใช้ตู้พลัง เวลาจะเคลื่อนย้ายต้องเหนื่อยมาก แถมมิเตอร์ไฟฟ้า 5 Amp.ใช้ไม่ได้ ไหม้แน่นอน  เดี๋ยวนี้หันมาใช้อินเวอรสเตอร์ สบายครับ ผมเชื่อมเพื่อผลิตปุ้งกี๋แม็คโคทั้งลูกก็ทำมาแล้วไม่มีปัญหาใดๆ หากเราใช้งานหนักก็เลือกยี่ห้อดีๆ ราคาหมื่นต้นๆ มิเตอร์ไฟที่บ้าน 5 Amp ใช้ได้สบาย  เยี่ยม
-ในอนาคตตู้เชื่อมลูกใหญ่ ๆ จะสูญพันธุ์ไหมครับ..ถ้าช่างหันมาใช้ตู้เชื่อมกระเป๋าหิ้วกันหมด
-เครื่องคูโบต้าของผมที่พัง ช่างใช้ลวดเชื่อม 2.6 มม.ครับ หลังไปฟิตมาใหม่ยังเชื่อมได้ดีอยู่ แต่ฟังจากเสียงที่เร่งแสบแก้วหูแล้ว..รู้สึกสงสารมันไม่น้อย
 
ไดร์เชื่อมของพี่เป็นตามรูปเลยหรือเปล่า ไดร์ที่เชื่อมได้จะมีจุดต่อสำหรับการเชื่อมโดยเฉพาะ ไม่ใช้ต่อจากปลั๊กหรือเบรคเกอร์  รอบการหมุนของไดร์ต้องได้ 1500 รอบถ้าไม่ถึงจะทำให้ความถี่จะไม่ได้(ปกติต้องได้ 50 เฮิร์ท)จะกินแรงของเครื่องยนต์เพิ่มอีก 
ใกล้เคียงมากครับ เพียงแต่คนละยี่ห้อ กระแสออก 2 ทางครับ ไฟบ้านออกทางนึง(มีปลั๊กตัวเมียและสกรูขันน็อต) ไฟเชื่อมออกอีกทางนึง(มีสกรูขันน็อตอย่างเดียวสำหรับลากสายเชื่อม) ผมก็ไม่รู้ว่าไดน์มันทำรอบได้เท่าไหร่ ผู้ช่วยช่างต้องลากสายเร่งยาว ๆ ขึ้นหลังคาคู่กับสายเชื่อมครับ เมื่อจะเชื่อมต้องเร่งเครื่องยนต์ก่อนจนสนั่น(แล้วผูกสายเร่งคาไว้) พอจี้หัวเชื่อมเกิดประกายไฟแปล๊บ ๆ เครื่องยนต์จะเร่งขึ้นเองอีกระดับหนึ่ง  พอเอาหัวเชื่อมออกจากชิ้นงานเครื่องก็จะลดการเร่งลงมาเท่าสายเร่งที่ผูกไว้..เป็นเรื่องปกติไหมครับ..เขาทำกันมาแบบนี้หลายวันจนงานเกือบจะเสร็จแล้ว เหลือหลังคานอกชานอีกหน่อยเดียว 
บันทึกการเข้า
folk99-รักในหลวง
จงหวังให้สูงสุดแต่อย่าหยุดเมื่อผิดหวัง
ชาว อวป.
Sr. Member
****

คะแนน 85
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 580



« ตอบ #31 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 22, 2013, 01:15:09 PM »

              ใช้ใด้ครับผมก็ใช้มาหลายปีแล้วตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ยังไม่พังเลยครับ ทำโครงหลังคา 

              ปะแท๊งค์น้ำ ยันเชื่อมผานรถไถนา ตอนนี้ใช้แต่อินเวอร์เตอร์ครับ เคลื่อนย้ายง่ายดีไม่หนัก 
 
             ตู้พลังจะขนย้ายแต่ละที อยู่คนเดียวต้องขึ้นรอกโซ่ยกไส่กระบะรถ 

                    งานเล็กๆไม่หนักมาก ใช้ตู้อินเวอร์เตอร์ก็สะดวกดีครับ เลื่อกดูยี่ห้อดีๆหน่อย 
ยืนยันอีกเสียงครับ ของผมเป็นเครื่องจักรกลหนัก เมื่อก่อนใช้ตู้พลัง เวลาจะเคลื่อนย้ายต้องเหนื่อยมาก แถมมิเตอร์ไฟฟ้า 5 Amp.ใช้ไม่ได้ ไหม้แน่นอน  เดี๋ยวนี้หันมาใช้อินเวอรสเตอร์ สบายครับ ผมเชื่อมเพื่อผลิตปุ้งกี๋แม็คโคทั้งลูกก็ทำมาแล้วไม่มีปัญหาใดๆ หากเราใช้งานหนักก็เลือกยี่ห้อดีๆ ราคาหมื่นต้นๆ มิเตอร์ไฟที่บ้าน 5 Amp ใช้ได้สบาย  เยี่ยม
-ในอนาคตตู้เชื่อมลูกใหญ่ ๆ จะสูญพันธุ์ไหมครับ..ถ้าช่างหันมาใช้ตู้เชื่อมกระเป๋าหิ้วกันหมด
-เครื่องคูโบต้าของผมที่พัง ช่างใช้ลวดเชื่อม 2.6 มม.ครับ หลังไปฟิตมาใหม่ยังเชื่อมได้ดีอยู่ แต่ฟังจากเสียงที่เร่งแสบแก้วหูแล้ว..รู้สึกสงสารมันไม่น้อย
 
ไดร์เชื่อมของพี่เป็นตามรูปเลยหรือเปล่า ไดร์ที่เชื่อมได้จะมีจุดต่อสำหรับการเชื่อมโดยเฉพาะ ไม่ใช้ต่อจากปลั๊กหรือเบรคเกอร์  รอบการหมุนของไดร์ต้องได้ 1500 รอบถ้าไม่ถึงจะทำให้ความถี่จะไม่ได้(ปกติต้องได้ 50 เฮิร์ท)จะกินแรงของเครื่องยนต์เพิ่มอีก 
ใกล้เคียงมากครับ เพียงแต่คนละยี่ห้อ กระแสออก 2 ทางครับ ไฟบ้านออกทางนึง(มีปลั๊กตัวเมียและสกรูขันน็อต) ไฟเชื่อมออกอีกทางนึง(มีสกรูขันน็อตอย่างเดียวสำหรับลากสายเชื่อม) ผมก็ไม่รู้ว่าไดน์มันทำรอบได้เท่าไหร่ ผู้ช่วยช่างต้องลากสายเร่งยาว ๆ ขึ้นหลังคาคู่กับสายเชื่อมครับ เมื่อจะเชื่อมต้องเร่งเครื่องยนต์ก่อนจนสนั่น(แล้วผูกสายเร่งคาไว้) พอจี้หัวเชื่อมเกิดประกายไฟแปล๊บ ๆ เครื่องยนต์จะเร่งขึ้นเองอีกระดับหนึ่ง  พอเอาหัวเชื่อมออกจากชิ้นงานเครื่องก็จะลดการเร่งลงมาเท่าสายเร่งที่ผูกไว้..เป็นเรื่องปกติไหมครับ..เขาทำกันมาแบบนี้หลายวันจนงานเกือบจะเสร็จแล้ว เหลือหลังคานอกชานอีกหน่อยเดียว 
เครื่องมันเร่ง/ลดเป็นไปตามโหลดครับ ต้องดูที่กำลังของเครื่องยนต์แล้วครับว่าพอที่ฉุดไดร์หรือไหม ของผมมีอยู่ตัวใช้เครื่องฮอนด้า 13.5 แรง(เครื่องเบนซิน)ปั่นไดร์ 6.5 kW ต่อตู้พลัง 300 เชื่อมได้แต่ลากยาวไม่ได้ ถ้าใช้ตู้อินเวอร์เตอร์สบาย
เครื่องปั่นไฟที่ไม่มีระบบ AVR แบบของคุณส่วนใหญ่จะต้องเร่งเครื่องแล้ววัดไฟให้ได้ตามต้องการแล้วขันล็อคคันเร่งไว้เลย งานเหลือไม่มากขอให้สำเร็จลุล่วงเครื่องไม่น็อคครับ
บันทึกการเข้า
R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 366
ออฟไลน์

กระทู้: 6023



« ตอบ #32 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 22, 2013, 04:09:18 PM »

              ใช้ใด้ครับผมก็ใช้มาหลายปีแล้วตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ยังไม่พังเลยครับ ทำโครงหลังคา 

              ปะแท๊งค์น้ำ ยันเชื่อมผานรถไถนา ตอนนี้ใช้แต่อินเวอร์เตอร์ครับ เคลื่อนย้ายง่ายดีไม่หนัก 
 
             ตู้พลังจะขนย้ายแต่ละที อยู่คนเดียวต้องขึ้นรอกโซ่ยกไส่กระบะรถ 

                    งานเล็กๆไม่หนักมาก ใช้ตู้อินเวอร์เตอร์ก็สะดวกดีครับ เลื่อกดูยี่ห้อดีๆหน่อย 
ยืนยันอีกเสียงครับ ของผมเป็นเครื่องจักรกลหนัก เมื่อก่อนใช้ตู้พลัง เวลาจะเคลื่อนย้ายต้องเหนื่อยมาก แถมมิเตอร์ไฟฟ้า 5 Amp.ใช้ไม่ได้ ไหม้แน่นอน  เดี๋ยวนี้หันมาใช้อินเวอรสเตอร์ สบายครับ ผมเชื่อมเพื่อผลิตปุ้งกี๋แม็คโคทั้งลูกก็ทำมาแล้วไม่มีปัญหาใดๆ หากเราใช้งานหนักก็เลือกยี่ห้อดีๆ ราคาหมื่นต้นๆ มิเตอร์ไฟที่บ้าน 5 Amp ใช้ได้สบาย  เยี่ยม
-ในอนาคตตู้เชื่อมลูกใหญ่ ๆ จะสูญพันธุ์ไหมครับ..ถ้าช่างหันมาใช้ตู้เชื่อมกระเป๋าหิ้วกันหมด
-เครื่องคูโบต้าของผมที่พัง ช่างใช้ลวดเชื่อม 2.6 มม.ครับ หลังไปฟิตมาใหม่ยังเชื่อมได้ดีอยู่ แต่ฟังจากเสียงที่เร่งแสบแก้วหูแล้ว..รู้สึกสงสารมันไม่น้อย
 
ไดร์เชื่อมของพี่เป็นตามรูปเลยหรือเปล่า ไดร์ที่เชื่อมได้จะมีจุดต่อสำหรับการเชื่อมโดยเฉพาะ ไม่ใช้ต่อจากปลั๊กหรือเบรคเกอร์  รอบการหมุนของไดร์ต้องได้ 1500 รอบถ้าไม่ถึงจะทำให้ความถี่จะไม่ได้(ปกติต้องได้ 50 เฮิร์ท)จะกินแรงของเครื่องยนต์เพิ่มอีก 
ใกล้เคียงมากครับ เพียงแต่คนละยี่ห้อ กระแสออก 2 ทางครับ ไฟบ้านออกทางนึง(มีปลั๊กตัวเมียและสกรูขันน็อต) ไฟเชื่อมออกอีกทางนึง(มีสกรูขันน็อตอย่างเดียวสำหรับลากสายเชื่อม) ผมก็ไม่รู้ว่าไดน์มันทำรอบได้เท่าไหร่ ผู้ช่วยช่างต้องลากสายเร่งยาว ๆ ขึ้นหลังคาคู่กับสายเชื่อมครับ เมื่อจะเชื่อมต้องเร่งเครื่องยนต์ก่อนจนสนั่น(แล้วผูกสายเร่งคาไว้) พอจี้หัวเชื่อมเกิดประกายไฟแปล๊บ ๆ เครื่องยนต์จะเร่งขึ้นเองอีกระดับหนึ่ง  พอเอาหัวเชื่อมออกจากชิ้นงานเครื่องก็จะลดการเร่งลงมาเท่าสายเร่งที่ผูกไว้..เป็นเรื่องปกติไหมครับ..เขาทำกันมาแบบนี้หลายวันจนงานเกือบจะเสร็จแล้ว เหลือหลังคานอกชานอีกหน่อยเดียว 
เครื่องมันเร่ง/ลดเป็นไปตามโหลดครับ ต้องดูที่กำลังของเครื่องยนต์แล้วครับว่าพอที่ฉุดไดร์หรือไหม ของผมมีอยู่ตัวใช้เครื่องฮอนด้า 13.5 แรง(เครื่องเบนซิน)ปั่นไดร์ 6.5 kW ต่อตู้พลัง 300 เชื่อมได้แต่ลากยาวไม่ได้ ถ้าใช้ตู้อินเวอร์เตอร์สบาย
เครื่องปั่นไฟที่ไม่มีระบบ AVR แบบของคุณส่วนใหญ่จะต้องเร่งเครื่องแล้ววัดไฟให้ได้ตามต้องการแล้วขันล็อคคันเร่งไว้เลย งานเหลือไม่มากขอให้สำเร็จลุล่วงเครื่องไม่น็อคครับ
  คูโบต้า ET-95 เรี่ยวแรงเหลือเฟือครับสำหรับไดน์ 3 Kw.เด็กที่ร้านขายบอกว่าขนาดไดน์ 5 Kw.มันยังลากไหว ปัญหามันอยู่ตรงที่เครื่องหม้อแดงแบบคูโบต้านั้นรอบช้า ไม่เหมือนเครื่องเบนซินอย่างฮอนด้าหรือ Brikk พวกนั้นรอบมันเร็วเอามาลากไดน์ได้ดีกว่า ช่างไม่กล้าเอาตู้เชื่อมทุกชนิดมาต่อกับไฟบ้านที่ไดน์ชุดนี้ปั่นออกมา เพราะคนขายสั่งห้ามเอาไว้ เขาบอกว่าขืนเอาตู้เชื่อมมาต่อรับรองว่าพังทันที (ตู้เชื่อมพัง-ไดน์ไม่พัง)
ระบบ AVR คืออะไรเหรอครับ ผมซื้อ volt meter มาเช็คโวลท์เตจ แขวนไว้ใกล้ ๆ ไดน์ ไม่เห็นว่าจะมีใครดูเพราะทุกคนอยู่บนหลังคา ทีมงานช่างเร่งเครื่องสนั่นอาศัยความชำนาญเอาจากการฟังเสียงเครื่องยนต์ก่อนลงมือเชื่อม
บันทึกการเข้า
lek
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1594
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 13942


การแบ่งปัน ทำให้เราและคนอื่นมีความสุข


« ตอบ #33 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 22, 2013, 04:21:01 PM »

ผมก็ใช้อยู่2เครื่องใชดีเชื่อมได้นิ่มดี  พอดีมีงานเชื่อมสนามลูกน้องเอาไปต่อเครื่องกำเนิดไฟฟ้า  ก็พังไปทั้ง2เครื่องถามดูเห็นว่าเร่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า  ไม่ได้ดูว่าโวลท์เท่าไหร่
บันทึกการเข้า

มีความสุขแบบที่เรามีก็พอhttp://www.gunsandgames.com/smf/index.php?board=29.0  (รวมพลคนอีสาน)
หน้า: 1 2 [3]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.054 วินาที กับ 22 คำสั่ง