จอยฮันเตอร์
พระรามเก้า 15-28 E23 LLL
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 10195
ออฟไลน์
กระทู้: 47057
M85.ss
|
|
« ตอบ #15 เมื่อ: เมษายน 11, 2013, 09:49:57 PM » |
|
ถุงพลาสติค จะผลิตมาจากเครื่องจักรกระบวนการผลิตที่เรียกว่า blow film ซึ่งมันจะออกมาเหมือนปลอกหมอนที่บางๆ จากนั้นเอาพลาสติคที่เหมือนปลอกหมอนนี้ มาเข้ากระบวนการเชื่อมแนวพลาสติคด้วยความร้อนเพื่อตัดเป็นแนวตามรูปถุง ทั้งสองเครื่องจักรนี้ 100 ล้าน ไม่รู้จะพอหรือเปล่า เครื่องจักรกระบวนการผลิตพลาสติคทุกชนิดในโลกนี้จะพากันไปออกงานโชว์ที่เมืองดุสเซลดอร์ฟ/เยอรมัน เรียกว่างาน K-Show ที่จัดเรียกว่า messe เหมือนเป็นศุนย์แสดงสินค้า ที่ใหญ่มากๆ ไม่ใช่มีเฉพาะจักรกระบวนการผลิตที่เรียกว่า blow film แต่มีทุกชนิดในโลกนี้ที่เกี่ยวกับพลาสติค มาจากทุกประเทศทั่วโลก
ถ้าอยากทำลองเข้าเว๊บหางาน K-Show ดูครับ
งานบางอย่างที่เราดูว่าง่าย จริงๆมันแค่ภูเขาน้ำแข็งเหนือน้ำเท่านั้นครับ
ถ้าอยากง่ายกว่านี้ คุณต้องหาที่ซื้อ blow film ที่เขาเป่ามาแล้ว มาเข้าเครื่องตัดขึ้นรูปด้วยความร้อนเอาเองครับ
แต่นั่นแหละใครจะขาย blow film ให้ เพราะต่างคนต่างก็ต้องผลิตถุงเป็นของตัวเอง
เคยไปซื้อเครื่องที่แฟรงเฟิตส์ ราคา ห้าล้าน ค่าถอดด่าเรื่อค่าภาษี ตกแล้วไม่เกิน ห้าสิบล้าน ขายต่อได้เจ็ดห้าล้าน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Southlander
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 5711
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 48212
|
|
« ตอบ #16 เมื่อ: เมษายน 11, 2013, 09:58:35 PM » |
|
มีเยอะครับพี่จอยที่ประเทศต่างๆ ไปซื้อเครื่องจักรการผลิตเก่าๆ มาจากเยอรมัน เพื่อมาใช้งานต่อ
แต่ก็ตาดีได้ ตาร้ายเสียครับ เพราะเครื่องบางอย่าง เอามาแล้วใช้ไม่ได้ (เคยไปเจอที่เวียตนามเอาเครื่องผลิตกระดาษของเก่าเยอรมันมา ขยะชัดๆใช้งานไม่ได้)
ถ้าจะทำให้ใช้ได้ ก็ต้องจ้างช่างเทคนิคเยอรมันมาเซ็ตอัพ ซึ่งทุนจะบาน ทำไปทำมา ซื้อเครื่องใหม่จะดีกว่าเสียอีก
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
๏ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง โดย:นภาลัย สุวรรณธาดา พศ.๒๕๑๐
|
|
|
จอยฮันเตอร์
พระรามเก้า 15-28 E23 LLL
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 10195
ออฟไลน์
กระทู้: 47057
M85.ss
|
|
« ตอบ #17 เมื่อ: เมษายน 11, 2013, 10:04:10 PM » |
|
มีเยอะครับพี่จอยที่ประเทศต่างๆ ไปซื้อเครื่องจักรการผลิตเก่าๆ มาจากเยอรมัน เพื่อมาใช้งานต่อ
แต่ก็ตาดีได้ ตาร้ายเสียครับ เพราะเครื่องบางอย่าง เอามาแล้วใช้ไม่ได้ (เคยไปเจอที่เวียตนามเอาเครื่องผลิตกระดาษของเก่าเยอรมันมา ขยะชัดๆใช้งานไม่ได้)
ถ้าจะทำให้ใช้ได้ ก็ต้องจ้างช่างเทคนิคเยอรมันมาเซ็ตอัพ ซึ่งทุนจะบาน ทำไปทำมา ซื้อเครื่องใหม่จะดีกว่าเสียอีก
เราให้เขาเทสโชว์เลยครับ ตอนผมไปมีเรื่องตลกเยอะเลย ฮาตั้งแต่ขอวีซ่าแล้ว
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Southlander
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 5711
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 48212
|
|
« ตอบ #18 เมื่อ: เมษายน 11, 2013, 10:11:27 PM » |
|
เทสต์ให้ดูก่อนอย่างนั้่นแหละครับ ชัวร์ เพราะเครื่องจักรเก่าจากเยอรมันมักจะดีไซน์ แบบ over engineering เก่าแต่ใช้ได้อีกนาน ตัวอย่างเช่น เครื่องจักรประเภท เครื่อง กลึง กัด ตัด ใส เจียรนัย เจาะ ด้วย CNC พวกนี้แท่นเก่าๆ จะมีค่าและตามหากันมาก เพราะเหล็กมีการใช้งานมานาน ผ่านร้อน ผ่านหนาวมาไม่รู้กี่ฤดูแล้ว การ หด ขยายตัว มันคงที่แล้ว เอามาเฉพาะแท่น แล้วเขาเอามา re-engineering ใช้ CNC รุ่นใหม่ใส่เข้าไปแทน ชิ้นงานที่จำจากเครื่อง re-engineering แบบนี้เอาไปใช้งานแล้วผลงานออกมา เนียน แน่นอน แม่นยำ กว่า แท่นที่ทำใหม่ล้วนเสียอีก
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
๏ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง โดย:นภาลัย สุวรรณธาดา พศ.๒๕๑๐
|
|
|
นายกระจง
Cement For Life.....
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 2938
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 31460
ช่างมันเถอะ
|
|
« ตอบ #19 เมื่อ: เมษายน 11, 2013, 10:41:02 PM » |
|
เทสต์ให้ดูก่อนอย่างนั้่นแหละครับ ชัวร์ เพราะเครื่องจักรเก่าจากเยอรมันมักจะดีไซน์ แบบ over engineering เก่าแต่ใช้ได้อีกนาน ตัวอย่างเช่น เครื่องจักรประเภท เครื่อง กลึง กัด ตัด ใส เจียรนัย เจาะ ด้วย CNC พวกนี้แท่นเก่าๆ จะมีค่าและตามหากันมาก เพราะเหล็กมีการใช้งานมานาน ผ่านร้อน ผ่านหนาวมาไม่รู้กี่ฤดูแล้ว การ หด ขยายตัว มันคงที่แล้ว เอามาเฉพาะแท่น แล้วเขาเอามา re-engineering ใช้ CNC รุ่นใหม่ใส่เข้าไปแทน ชิ้นงานที่จำจากเครื่อง re-engineering แบบนี้เอาไปใช้งานแล้วผลงานออกมา เนียน แน่นอน แม่นยำ กว่า แท่นที่ทำใหม่ล้วนเสียอีก
แล้วทำไมพี่ดุลย์ไม่ใช้โฟลค์เต่าละ มาใช้ซีวิคทำไมนิ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เกิดเป็นคนต้องอดทน ไม่อดทนก็อดตาย
|
|
|
จอยฮันเตอร์
พระรามเก้า 15-28 E23 LLL
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 10195
ออฟไลน์
กระทู้: 47057
M85.ss
|
|
« ตอบ #20 เมื่อ: เมษายน 11, 2013, 10:49:46 PM » |
|
เทสต์ให้ดูก่อนอย่างนั้่นแหละครับ ชัวร์ เพราะเครื่องจักรเก่าจากเยอรมันมักจะดีไซน์ แบบ over engineering เก่าแต่ใช้ได้อีกนาน ตัวอย่างเช่น เครื่องจักรประเภท เครื่อง กลึง กัด ตัด ใส เจียรนัย เจาะ ด้วย CNC พวกนี้แท่นเก่าๆ จะมีค่าและตามหากันมาก เพราะเหล็กมีการใช้งานมานาน ผ่านร้อน ผ่านหนาวมาไม่รู้กี่ฤดูแล้ว การ หด ขยายตัว มันคงที่แล้ว เอามาเฉพาะแท่น แล้วเขาเอามา re-engineering ใช้ CNC รุ่นใหม่ใส่เข้าไปแทน ชิ้นงานที่จำจากเครื่อง re-engineering แบบนี้เอาไปใช้งานแล้วผลงานออกมา เนียน แน่นอน แม่นยำ กว่า แท่นที่ทำใหม่ล้วนเสียอีก
ตอนผมไป ใช้กล้องวัดมุม ยิงจากทุกฐาน ทำระดับใว้หมด คนรับซื้อต่อเห็นค่าองศาตาลุกวาว
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Southlander
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 5711
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 48212
|
|
« ตอบ #21 เมื่อ: เมษายน 11, 2013, 10:52:53 PM » |
|
เทสต์ให้ดูก่อนอย่างนั้่นแหละครับ ชัวร์ เพราะเครื่องจักรเก่าจากเยอรมันมักจะดีไซน์ แบบ over engineering เก่าแต่ใช้ได้อีกนาน ตัวอย่างเช่น เครื่องจักรประเภท เครื่อง กลึง กัด ตัด ใส เจียรนัย เจาะ ด้วย CNC พวกนี้แท่นเก่าๆ จะมีค่าและตามหากันมาก เพราะเหล็กมีการใช้งานมานาน ผ่านร้อน ผ่านหนาวมาไม่รู้กี่ฤดูแล้ว การ หด ขยายตัว มันคงที่แล้ว เอามาเฉพาะแท่น แล้วเขาเอามา re-engineering ใช้ CNC รุ่นใหม่ใส่เข้าไปแทน ชิ้นงานที่จำจากเครื่อง re-engineering แบบนี้เอาไปใช้งานแล้วผลงานออกมา เนียน แน่นอน แม่นยำ กว่า แท่นที่ทำใหม่ล้วนเสียอีก
แล้วทำไมพี่ดุลย์ไม่ใช้โฟลค์เต่าละ มาใช้ซีวิคทำไมนิ กลัวหัวจะไม่โผล่
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
๏ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง โดย:นภาลัย สุวรรณธาดา พศ.๒๕๑๐
|
|
|
Southlander
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 5711
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 48212
|
|
« ตอบ #22 เมื่อ: เมษายน 11, 2013, 10:58:20 PM » |
|
คนเยอรมันเล่าให้ฟังการทำแท่นใหม่ เขาเร่งให้เสมือนแท่นเก่าเพราะต้องทำขายไวๆ ด้วยการเอาแท่นไปวางกลางลานโล่งๆให้ โดนแดด โดนหิมะ เพื่อเร่งให้เหล็ก หด-ขยาย จนอยู่ตัวเร็วขึ้น
ปล. CNC Controller ที่เก่งๆ สามารถกลึงชิ้นจาก Autocad files ได้เลยไม่ต้องป้อน G-Code ส่วนControllerของเจ้าไหน บอกตรงนี้ไม่ได้ อยากทราบ หลังไมค์ครับ
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: เมษายน 11, 2013, 11:02:34 PM โดย Southlander »
|
บันทึกการเข้า
|
๏ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง โดย:นภาลัย สุวรรณธาดา พศ.๒๕๑๐
|
|
|
นายกระจง
Cement For Life.....
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 2938
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 31460
ช่างมันเถอะ
|
|
« ตอบ #23 เมื่อ: เมษายน 11, 2013, 11:00:38 PM » |
|
เทสต์ให้ดูก่อนอย่างนั้่นแหละครับ ชัวร์ เพราะเครื่องจักรเก่าจากเยอรมันมักจะดีไซน์ แบบ over engineering เก่าแต่ใช้ได้อีกนาน ตัวอย่างเช่น เครื่องจักรประเภท เครื่อง กลึง กัด ตัด ใส เจียรนัย เจาะ ด้วย CNC พวกนี้แท่นเก่าๆ จะมีค่าและตามหากันมาก เพราะเหล็กมีการใช้งานมานาน ผ่านร้อน ผ่านหนาวมาไม่รู้กี่ฤดูแล้ว การ หด ขยายตัว มันคงที่แล้ว เอามาเฉพาะแท่น แล้วเขาเอามา re-engineering ใช้ CNC รุ่นใหม่ใส่เข้าไปแทน ชิ้นงานที่จำจากเครื่อง re-engineering แบบนี้เอาไปใช้งานแล้วผลงานออกมา เนียน แน่นอน แม่นยำ กว่า แท่นที่ทำใหม่ล้วนเสียอีก
แล้วทำไมพี่ดุลย์ไม่ใช้โฟลค์เต่าละ มาใช้ซีวิคทำไมนิ กลัวหัวจะไม่โผล่ ถ้าเขาทำให้ราคาเท่าๆรถญี่ปุ่น ก็น่าสนใจมากครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เกิดเป็นคนต้องอดทน ไม่อดทนก็อดตาย
|
|
|
bigbang
จงใช้สติก่อนใช้ปืน
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 1018
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 6603
รูปจากเวปผู้จัดการครับ
|
|
« ตอบ #24 เมื่อ: เมษายน 12, 2013, 07:43:19 AM » |
|
ขออนุญาติออกความเห็นครับ ควรจะศึกษาเรื่องตลาดของสินค้าให้ละเอียดก่อนลงทุนก่อนครับ โดยเฉพาะผู้ประกอบการที่มีอยู่ก่อนเท่าไร การแข่งขันเป็นอย่างไร อนาคตของสินค้าถาดโฟม ถุงพลาสติก ถุงก๊อปแก๊ป จะมีแนวโน้มเป็นอย่างไร จะมีการรณรงค์เลิกใช้รึปล่าว ฯลฯ หากลงทุนไปแล้ว การแข่งขันสูงตัดราคากันสู้ไม่ได้ หรือ เขากำลังจะเลิกใช้สินค้าประเภทนี้ ควรจะปรับเปลี่ยนวัตถุดิบให้มาเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมดีมัย หรือ ลองหาธุรกิจทางเลือกเผื่อไว้ก็น่าจะดีครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
อเสวนา จะ พาลานัง
|
|
|
lek
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 1594
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 13942
การแบ่งปัน ทำให้เราและคนอื่นมีความสุข
|
|
« ตอบ #25 เมื่อ: เมษายน 12, 2013, 10:27:55 AM » |
|
หาขวดรีไซเคิ้ลมาบดขายก่อนครับลงทุนน้อย อีก10ปีจะเริ่มมองเห็นทาง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nero Angel01
Hero Member
คะแนน 275
ออฟไลน์
กระทู้: 3048
|
|
« ตอบ #26 เมื่อ: เมษายน 12, 2013, 10:39:17 AM » |
|
ขอบคุณทุกท่านครับที่ให้ความรู้ครับ ตอนนี้ผมกำลังอ่านคู่มืออยู่ คงต้องดูความเป็นไปได้จริงอีกทีครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 7665
ออฟไลน์
กระทู้: 9988
|
|
« ตอบ #27 เมื่อ: เมษายน 12, 2013, 03:24:48 PM » |
|
หาขวดรีไซเคิ้ลมาบดขายก่อนครับลงทุนน้อย อีก10ปีจะเริ่มมองเห็นทาง
เมื่อหลายปีก่อนมีเพื่อนลงทุนทำแล้วก็เจ๊งไป หาแหล่งขยะสู้เจ้าเดิมๆไม่ได้อุตส่าห์ไปเปิดอยู่แถวอ่อนนุชนะนี่ เห็นถุงก๊อปแก๊ปอย่าคิดว่าหมูนะ ลองไปศึกษาขบวนการผลิตให้ได้มากที่สุดก่อน อาจจะยากสักหน่อยบางเรื่องในเทคนิคการผลิตเขาหวงกัน เช่นผสมเคมีผงสองขีดลงไปในส่วนผสม 200 ร้อยกว่าโลนี่ทำอย่างไรให้มันเสมอกัน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
RUGER
ความเกรงใจเป็นสมบัติของผู้ดี ตรองดูซีทุกคนก็มีหัวใจ
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 1262
ออฟไลน์
กระทู้: 23344
ฟ้าลิขิตชีวิตข้า ให้ค้าขาย
|
|
« ตอบ #28 เมื่อ: เมษายน 12, 2013, 03:43:50 PM » |
|
ถาดโฟม กับถุงพลาสติก คนละเรื่องกันเลยครับ ถุงพลาสติก ยังแยกย่อยออกเป็น แต่ละแบบ ตามเนื้อพลาสติกอีก ถุงดำถุงเพาะชำ ถุงหิ้ว(ถุงก๊อปแก๊ป )ถุงก๊วยเตี๋ยว วัตถุดิบที่ใช้ในการเป่าก็แตกต่างกัน ถ้าถุงหิ้ว ขนาดไม่ใหญ่มาก พวกใส่ของทั่วไป 8x16 / 9x18 ราคาเครื่องอาจไม่สูงมากครับ ขนาดของเครื่อง และราคาเครื่อง จึงขึ้นกับ ขนาดของถุงด้วย สำคัญต้องหาช่างเป่า ช่างคุมเครื่องให้ได้ หากทำเองได้หรือมีความรู้ ฝึกฝนเด็กมาคุมเครื่อง ก็อีกเรื่องนึง นี่ผมพูดถึงโรงงานขนาดเล็ก แต่ถ้า ขนาดใหญ่ขึ้นปัญหาต่าง ๆ ก็คงมากขึ้นอีกมาก ลองเป็นยี่ปั้ว ดูไหมครับ หาลูกค้าได้ สั่งเป่าจาก กทม. หรือโรงงานใกล้เคียงในพื้นที่ กินส่วนต่างกำไร ถ้าแบบนี้ก็ใช้เงินลงทุนน้อยหน่อย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
เอก@ดอยฯ
ปฏิบัติอย่างถูกต้องตั้งแต่แรกเริ่ม
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 183
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 9460
Do it right the first time
|
|
« ตอบ #29 เมื่อ: เมษายน 12, 2013, 04:04:30 PM » |
|
หาขวดรีไซเคิ้ลมาบดขายก่อนครับลงทุนน้อย อีก10ปีจะเริ่มมองเห็นทาง
เมื่อหลายปีก่อนมีเพื่อนลงทุนทำแล้วก็เจ๊งไป หาแหล่งขยะสู้เจ้าเดิมๆไม่ได้อุตส่าห์ไปเปิดอยู่แถวอ่อนนุชนะนี่ เห็นถุงก๊อปแก๊ปอย่าคิดว่าหมูนะ ลองไปศึกษาขบวนการผลิตให้ได้มากที่สุดก่อน อาจจะยากสักหน่อยบางเรื่องในเทคนิคการผลิตเขาหวงกัน เช่นผสมเคมีผงสองขีดลงไปในส่วนผสม 200 ร้อยกว่าโลนี่ทำอย่างไรให้มันเสมอกัน แคลเซียมสเตียเรต
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|