เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
ตุลาคม 01, 2024, 06:33:07 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เวบบอร์ดอวป.ยินดีต้อนรับสุภาพชนทุกท่าน กรุณาใช้คำสุภาพด้วยครับ
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 2 [3]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ขอชื่นชมการทำงาน ของเจ้าหน้าที่ ในช่วงสงกรานต์หน่อยนะครับ  (อ่าน 1715 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
numplaw
Full Member
***

คะแนน 27
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 185


line numplaw


« ตอบ #30 เมื่อ: เมษายน 22, 2013, 06:58:21 PM »

ผมเคยฟังบรรยายที่ขนส่งบอกว่าเรามีสิทธิที่จะไม่เป่า ถ้าเกิดดื่มมากแล้วเราคิดว่าถ้าเป่าแล้วโดนแน่ๆ
ให้จอดรถก่อนถึงด่านแล้วนอนคอยจนกว่าด่านจะเลิก เพราะกฎหมายบังคับเราเป่าไม่ได้
แต่ผมไม่เคยใช้นะครับ และไม่แนะนำให้ใช่บ่อย  คิก คิก คิก คิก
เพื่อนผมเคยโดนข้อหานี้ เป่าไม่ผ่าน เรียกเงินหนึ่งหมื่นบาทถ้วนแลกกับการไม่ต้องไปนอนคุกครับ
ดื่นไม่ขับปลอดภัยที่สุดครับ  Grin Grin

ผิดถูกประการได้ขออภัยนะครับ ฟังเข้าเล่ามา  ไหว้ ไหว้ ไหว้
บันทึกการเข้า

อรชุน-รักในหลวง
หมู่โลหิต O
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1599
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10265


ขาย-อัพเกรด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง


« ตอบ #31 เมื่อ: เมษายน 22, 2013, 07:21:34 PM »

ผมเคยฟังบรรยายที่ขนส่งบอกว่าเรามีสิทธิที่จะไม่เป่า ถ้าเกิดดื่มมากแล้วเราคิดว่าถ้าเป่าแล้วโดนแน่ๆ
ให้จอดรถก่อนถึงด่านแล้วนอนคอยจนกว่าด่านจะเลิก เพราะกฎหมายบังคับเราเป่าไม่ได้
แต่ผมไม่เคยใช้นะครับ และไม่แนะนำให้ใช่บ่อย  คิก คิก คิก คิก
เพื่อนผมเคยโดนข้อหานี้ เป่าไม่ผ่าน เรียกเงินหนึ่งหมื่นบาทถ้วนแลกกับการไม่ต้องไปนอนคุกครับ
ดื่นไม่ขับปลอดภัยที่สุดครับ  Grin Grin

ผิดถูกประการได้ขออภัยนะครับ ฟังเข้าเล่ามา  ไหว้ ไหว้ ไหว้


พระราชบัญญํติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓(๒) ขับรถในขณะเมาสุราหรือของเมาอย่างอื่น... เจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่
มีอำนาจสั่งให้ผู้ขับขี่หยุดรถได้ตามมาตรา ๑๔๒ วรรคหนึ่ง เพื่อทำการทดสอบว่าผู้ขับขี่เมาสุราหรือไม่ ตามมาตรา ๑๔๒ วรรคสอง
และในกรณีผู้ขับขี่ไม่ยอมให้ทดสอบให้มีอำนาจกักตัวเพื่อทำการทดสอบได้ตามมาตรา ๑๔๒ วรรคสาม

 
การทดสอบผู้ขับขี่ว่าเมาสุราหรือไม่ ให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๖ (พ.ศ.๒๕๓๗) คือ ๑. ตรวจวัดลมหายใจด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจหรือทดสอบ  
โดยวิธีเป่าลมหายใจ ๒. ตรวจวัดจากปัสสาวะ ๓. ตรวจวัดจากเลือด  

              ถึงแม้จะมีถึง ๓ วิธีการ ก็ตาม แต่การตรวจวัดตาม ๒หรือ๓ จะใช้ได้เฉพาะในกรณีที่ไม่สามารถทดสอบตาม๑ ได้เท่านั้น ผลของการตรวจสอบถ้าปรากฎว่าผู้ขับขี่เมาสุรา
จะเป็นความผิดตามมาตรา ๑๔๒ ที่มีโทษตามมาตรา ๑๖๐ คือ จำคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(ต้องส่งเรื่องให้ศาลพิพากษาคดี ปรับชั้นพนักงานสอบสวนไม่ได้ ต้องถูกควบคุมตัว พิมพ์มือเพื่อตรวจสอบประวัติ)
                        

              ในทางปฏิบัติแม้กฎหมายจะให้อำนาจเจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายก็ตาม แต่ถ้าปรากฎว่าผู้ขับขี่ไม่ยินยอมให้ทำการทดสอบในทุกกรณี  
แม้จะถูกกักตัวก็ไม่ยอมให้ทำการทดสอบ (ซึ่งมีปรากฎอยู่ในปัจจุบัน) ผู้ขับขี่ไม่มีความผิดตามมาตรา ๑๔๒ แต่ผิดฐานฝ่าฝืนคำสั่งเจ้าพนักงานจราจร ตามมาตรา ๑๕๔  
ปรับครั้งละไม่เกินหนึ่งพันบาท  ซี่งมีโทษเบากว่าและสามารถปรับผู้ขับขี่ในชั้นพนักงานสอบสวนได้โดยไม่ต้องส่งตัวฟ้องต่อศาล
    
               เพื่อเป็นการคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่ผู้ใช้รถใช้ถนน หรือเป็นการป้องกันมิให้เกิดอุบัติภัยจราจร รวมทั้งผู้บังคับใช้กฎหมายสามารถปฏิบัติตามกฎหมายได้สะดวก รวดเร็ว  
โดยไม่จำเป็นต้องกักตัวผู้ขับขี่ที่ไม่ยอมให้ทำการทดสอบไว้ เห็นสมควรจะต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา  ๑๔๒ แห่งพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒  


 การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ตามแนวคิดของผู้เขียน กระทำได้ ๒  กรณี

 ๑.  ผู้ขับขี่ที่ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ทดสอบ มีโทษเช่นเดียวกับผู้ที่ยินยอมให้ทดสอบและผลการทดสอบปรากฎว่าเมาสุรา คือ มีโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน
หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งปัจจุบันมีกฎหมายฉบับอื่นในเรื่องอื่นได้บัญญัติรองรับผู้ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ตรวจหรือทดสอบ
เช่น ประกาศเรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดมีสารเสพติดอยู่ในร่างกายหรือไม่  

ออกตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.๒๕๑๙  แก้ไขเพิ่มเติมตามพระราชบัญญํติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๔๓  
ที่บัญญํติว่า “เมื่อมีเหตุจำเป็นหรือควรเชื่อได้ว่ามีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดเสพยาเสพติด ไม่ว่าในยานพาหนะหรือสถานที่ใด ๆ

ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. มีอำนาจตรวจหรือทดสอบหรือสั่งให้รับการตรวจหรือทดสอบสารเสพติดในร่างกาย
ซึ่งผู้ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ตรวจหรือทดสอบมีโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท”  หรือ

๒. ใช้บทสันนิษฐานของกฎหมาย กล่าวคือ  ผู้ขับขี่ที่ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ทดสอบ   ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้นั้นเมาสุรา
มีโทษเช่นเดียวกับผู้ที่ยินยอมให้ทดสอบและผลของการทดสอบปรากฎว่าเมาสุรา
 ซึ่งบทสันนิษฐานไว้ก่อน กฎหมายฉบับอื่นในเรื่องอื่น

เช่น  พ.ร.บ.การพนัน พ.ศ.๒๔๗๘ มาตรา ๖ บัญญัติว่า “ผู้ใดอยู่ในวงการเล่นอันขัดต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือขัดต่อข้อความในกฎกระทรวง
หรือใบอนุญาตซึ่งออกตามพระราชบัญญัตินี้ ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นเล่นด้วย ..........”
บันทึกการเข้า
SSG 69 รักในหลวง
Sr. Member
****

คะแนน 104
ออฟไลน์

กระทู้: 624


« ตอบ #32 เมื่อ: เมษายน 22, 2013, 07:33:33 PM »

ตั้งแต่หัวแถว.....ยันปลายแถว เหมือนกันมิผิดเพียน
บันทึกการเข้า
numplaw
Full Member
***

คะแนน 27
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 185


line numplaw


« ตอบ #33 เมื่อ: เมษายน 22, 2013, 07:35:32 PM »

ผมเคยฟังบรรยายที่ขนส่งบอกว่าเรามีสิทธิที่จะไม่เป่า ถ้าเกิดดื่มมากแล้วเราคิดว่าถ้าเป่าแล้วโดนแน่ๆ
ให้จอดรถก่อนถึงด่านแล้วนอนคอยจนกว่าด่านจะเลิก เพราะกฎหมายบังคับเราเป่าไม่ได้
แต่ผมไม่เคยใช้นะครับ และไม่แนะนำให้ใช่บ่อย  คิก คิก คิก คิก
เพื่อนผมเคยโดนข้อหานี้ เป่าไม่ผ่าน เรียกเงินหนึ่งหมื่นบาทถ้วนแลกกับการไม่ต้องไปนอนคุกครับ
ดื่นไม่ขับปลอดภัยที่สุดครับ  Grin Grin

ผิดถูกประการได้ขออภัยนะครับ ฟังเข้าเล่ามา  ไหว้ ไหว้ ไหว้


พระราชบัญญํติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓(๒) ขับรถในขณะเมาสุราหรือของเมาอย่างอื่น... เจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่
มีอำนาจสั่งให้ผู้ขับขี่หยุดรถได้ตามมาตรา ๑๔๒ วรรคหนึ่ง เพื่อทำการทดสอบว่าผู้ขับขี่เมาสุราหรือไม่ ตามมาตรา ๑๔๒ วรรคสอง
และในกรณีผู้ขับขี่ไม่ยอมให้ทดสอบให้มีอำนาจกักตัวเพื่อทำการทดสอบได้ตามมาตรา ๑๔๒ วรรคสาม

 
การทดสอบผู้ขับขี่ว่าเมาสุราหรือไม่ ให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๖ (พ.ศ.๒๕๓๗) คือ ๑. ตรวจวัดลมหายใจด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจหรือทดสอบ 
โดยวิธีเป่าลมหายใจ ๒. ตรวจวัดจากปัสสาวะ ๓. ตรวจวัดจากเลือด 

              ถึงแม้จะมีถึง ๓ วิธีการ ก็ตาม แต่การตรวจวัดตาม ๒หรือ๓ จะใช้ได้เฉพาะในกรณีที่ไม่สามารถทดสอบตาม๑ ได้เท่านั้น ผลของการตรวจสอบถ้าปรากฎว่าผู้ขับขี่เมาสุรา
จะเป็นความผิดตามมาตรา ๑๔๒ ที่มีโทษตามมาตรา ๑๖๐ คือ จำคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(ต้องส่งเรื่องให้ศาลพิพากษาคดี ปรับชั้นพนักงานสอบสวนไม่ได้ ต้องถูกควบคุมตัว พิมพ์มือเพื่อตรวจสอบประวัติ)
                       

              ในทางปฏิบัติแม้กฎหมายจะให้อำนาจเจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายก็ตาม แต่ถ้าปรากฎว่าผู้ขับขี่ไม่ยินยอมให้ทำการทดสอบในทุกกรณี   
แม้จะถูกกักตัวก็ไม่ยอมให้ทำการทดสอบ (ซึ่งมีปรากฎอยู่ในปัจจุบัน) ผู้ขับขี่ไม่มีความผิดตามมาตรา ๑๔๒ แต่ผิดฐานฝ่าฝืนคำสั่งเจ้าพนักงานจราจร ตามมาตรา ๑๕๔ 
ปรับครั้งละไม่เกินหนึ่งพันบาท  ซี่งมีโทษเบากว่าและสามารถปรับผู้ขับขี่ในชั้นพนักงานสอบสวนได้โดยไม่ต้องส่งตัวฟ้องต่อศาล
     
               เพื่อเป็นการคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่ผู้ใช้รถใช้ถนน หรือเป็นการป้องกันมิให้เกิดอุบัติภัยจราจร รวมทั้งผู้บังคับใช้กฎหมายสามารถปฏิบัติตามกฎหมายได้สะดวก รวดเร็ว   
โดยไม่จำเป็นต้องกักตัวผู้ขับขี่ที่ไม่ยอมให้ทำการทดสอบไว้ เห็นสมควรจะต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา  ๑๔๒ แห่งพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒   


 การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ตามแนวคิดของผู้เขียน กระทำได้ ๒  กรณี

 ๑.  ผู้ขับขี่ที่ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ทดสอบ มีโทษเช่นเดียวกับผู้ที่ยินยอมให้ทดสอบและผลการทดสอบปรากฎว่าเมาสุรา คือ มีโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน
หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งปัจจุบันมีกฎหมายฉบับอื่นในเรื่องอื่นได้บัญญัติรองรับผู้ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ตรวจหรือทดสอบ
เช่น ประกาศเรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดมีสารเสพติดอยู่ในร่างกายหรือไม่ 

ออกตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.๒๕๑๙  แก้ไขเพิ่มเติมตามพระราชบัญญํติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๔๓ 
ที่บัญญํติว่า “เมื่อมีเหตุจำเป็นหรือควรเชื่อได้ว่ามีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดเสพยาเสพติด ไม่ว่าในยานพาหนะหรือสถานที่ใด ๆ

ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. มีอำนาจตรวจหรือทดสอบหรือสั่งให้รับการตรวจหรือทดสอบสารเสพติดในร่างกาย
ซึ่งผู้ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ตรวจหรือทดสอบมีโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท”  หรือ

๒. ใช้บทสันนิษฐานของกฎหมาย กล่าวคือ  ผู้ขับขี่ที่ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ทดสอบ   ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้นั้นเมาสุรา
มีโทษเช่นเดียวกับผู้ที่ยินยอมให้ทดสอบและผลของการทดสอบปรากฎว่าเมาสุรา
  ซึ่งบทสันนิษฐานไว้ก่อน กฎหมายฉบับอื่นในเรื่องอื่น

เช่น  พ.ร.บ.การพนัน พ.ศ.๒๔๗๘ มาตรา ๖ บัญญัติว่า “ผู้ใดอยู่ในวงการเล่นอันขัดต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือขัดต่อข้อความในกฎกระทรวง
หรือใบอนุญาตซึ่งออกตามพระราชบัญญัตินี้ ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นเล่นด้วย ..........”
ไหว้ ไหว้ ไหว้
บันทึกการเข้า

Skeleton_King
ถูกเพิกถอนสมาชิกภาพ
Hero Member
*

คะแนน -3340
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2760


คนต่ำๆ ก็จะคิดได้แค่ต่ำๆ


เว็บไซต์
« ตอบ #34 เมื่อ: เมษายน 22, 2013, 09:15:31 PM »

สุดท้าย ผมก็เป่า

ขอบคุณสำหรับข้อกฏหมาย ครับ
บันทึกการเข้า

รู้จักกันมากขึ้นได้ที่ http://www.facebook.com/profile.php?id=100001818524287
                               ^
                               ^
ถ้าคุณไม่เชื่อว่าคนที่คุณเกลียดก็มีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
นั่นก็หมายความว่าคุณไม่เชื่อในการมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นเลย  -Noam Chompsky-
~ Sitthipong - รักในหลวง ~
"วาจาย่อมมีน้ำหนัก หากหนุนด้วยสรรพอาวุธ"
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 2953
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 23210



« ตอบ #35 เมื่อ: เมษายน 22, 2013, 09:16:12 PM »



พระราชบัญญํติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓(๒) ขับรถในขณะเมาสุราหรือของเมาอย่างอื่น... เจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่
มีอำนาจสั่งให้ผู้ขับขี่หยุดรถได้ตามมาตรา ๑๔๒ วรรคหนึ่ง เพื่อทำการทดสอบว่าผู้ขับขี่เมาสุราหรือไม่ ตามมาตรา ๑๔๒ วรรคสอง
และในกรณีผู้ขับขี่ไม่ยอมให้ทดสอบให้มีอำนาจกักตัวเพื่อทำการทดสอบได้ตามมาตรา ๑๔๒ วรรคสาม

 
การทดสอบผู้ขับขี่ว่าเมาสุราหรือไม่ ให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๖ (พ.ศ.๒๕๓๗) คือ ๑. ตรวจวัดลมหายใจด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจหรือทดสอบ 
โดยวิธีเป่าลมหายใจ ๒. ตรวจวัดจากปัสสาวะ ๓. ตรวจวัดจากเลือด 

              ถึงแม้จะมีถึง ๓ วิธีการ ก็ตาม แต่การตรวจวัดตาม ๒หรือ๓ จะใช้ได้เฉพาะในกรณีที่ไม่สามารถทดสอบตาม๑ ได้เท่านั้น ผลของการตรวจสอบถ้าปรากฎว่าผู้ขับขี่เมาสุรา
จะเป็นความผิดตามมาตรา ๑๔๒ ที่มีโทษตามมาตรา ๑๖๐ คือ จำคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(ต้องส่งเรื่องให้ศาลพิพากษาคดี ปรับชั้นพนักงานสอบสวนไม่ได้ ต้องถูกควบคุมตัว พิมพ์มือเพื่อตรวจสอบประวัติ)
                       

              ในทางปฏิบัติแม้กฎหมายจะให้อำนาจเจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายก็ตาม แต่ถ้าปรากฎว่าผู้ขับขี่ไม่ยินยอมให้ทำการทดสอบในทุกกรณี   
แม้จะถูกกักตัวก็ไม่ยอมให้ทำการทดสอบ (ซึ่งมีปรากฎอยู่ในปัจจุบัน) ผู้ขับขี่ไม่มีความผิดตามมาตรา ๑๔๒ แต่ผิดฐานฝ่าฝืนคำสั่งเจ้าพนักงานจราจร ตามมาตรา ๑๕๔ 
ปรับครั้งละไม่เกินหนึ่งพันบาท  ซี่งมีโทษเบากว่าและสามารถปรับผู้ขับขี่ในชั้นพนักงานสอบสวนได้โดยไม่ต้องส่งตัวฟ้องต่อศาล
     
               เพื่อเป็นการคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่ผู้ใช้รถใช้ถนน หรือเป็นการป้องกันมิให้เกิดอุบัติภัยจราจร รวมทั้งผู้บังคับใช้กฎหมายสามารถปฏิบัติตามกฎหมายได้สะดวก รวดเร็ว   
โดยไม่จำเป็นต้องกักตัวผู้ขับขี่ที่ไม่ยอมให้ทำการทดสอบไว้ เห็นสมควรจะต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา  ๑๔๒ แห่งพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒   


 การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ตามแนวคิดของผู้เขียน กระทำได้ ๒  กรณี

 ๑.  ผู้ขับขี่ที่ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ทดสอบ มีโทษเช่นเดียวกับผู้ที่ยินยอมให้ทดสอบและผลการทดสอบปรากฎว่าเมาสุรา คือ มีโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน
หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งปัจจุบันมีกฎหมายฉบับอื่นในเรื่องอื่นได้บัญญัติรองรับผู้ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ตรวจหรือทดสอบ
เช่น ประกาศเรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดมีสารเสพติดอยู่ในร่างกายหรือไม่ 

ออกตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.๒๕๑๙  แก้ไขเพิ่มเติมตามพระราชบัญญํติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๔๓ 
ที่บัญญํติว่า “เมื่อมีเหตุจำเป็นหรือควรเชื่อได้ว่ามีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดเสพยาเสพติด ไม่ว่าในยานพาหนะหรือสถานที่ใด ๆ

ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. มีอำนาจตรวจหรือทดสอบหรือสั่งให้รับการตรวจหรือทดสอบสารเสพติดในร่างกาย
ซึ่งผู้ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ตรวจหรือทดสอบมีโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท”  หรือ

๒. ใช้บทสันนิษฐานของกฎหมาย กล่าวคือ  ผู้ขับขี่ที่ฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ทดสอบ   ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้นั้นเมาสุรา
มีโทษเช่นเดียวกับผู้ที่ยินยอมให้ทดสอบและผลของการทดสอบปรากฎว่าเมาสุรา
  ซึ่งบทสันนิษฐานไว้ก่อน กฎหมายฉบับอื่นในเรื่องอื่น

เช่น  พ.ร.บ.การพนัน พ.ศ.๒๔๗๘ มาตรา ๖ บัญญัติว่า “ผู้ใดอยู่ในวงการเล่นอันขัดต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือขัดต่อข้อความในกฎกระทรวง
หรือใบอนุญาตซึ่งออกตามพระราชบัญญัตินี้ ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นเล่นด้วย ..........”

+๑  ครับ   เยี่ยม
บันทึกการเข้า



...ไม่มีใครทำขาวให้เป็นดำ  หรือทำผิดให้เป็นถูกได้ตลอด...
หน้า: 1 2 [3]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.097 วินาที กับ 21 คำสั่ง