เรียนถามคุณยายบ๊าบครับ....
การลอกเอาอากร ที่ยังไม่ได้ขีดฆ่านำกลับมาใช้ใหม่
กับการลอกเอาอากร ที่ขีดฆ่าแล้ว นำกลับมาใช้ซ้ำใหม่
มันมีความแตกต่างกันตรงไหนครับ
ในแง่ของการนำมาใช้เป็นหลักฐานในคดี
เพราะทั้งสองกรณีที่ว่านั้น ต่างก็ไม่ได้จ่ายค่าภาษีอากรให้รัฐ (จงใจหลีกเลี่ยง)
แต่ตรงตามวิธีปฏิบัติที่ศาลท่านกำหนดคือต้องขีดฆ่าอากร...
ที่เรียนถามมานี้ไม่มีเจตนาอื่นใด
นอกจากสงสัยและอยากได้เป็นความรู้ครับ..ขอบคุณมากครับ..
Ha Ha Ha ฮา "ฮั่นแน่" พี่ Tui 48 อ่ะ ฮา
ยายตอบ จากล่าง ขึ้นไปข้างบน ก่อนอ่ะ ฮา
ถามแบบนี้ ยายกลัว โดน "ตุ๋ย" อ่ะ ฮา
ไอ้การนำกลับ "มาใช้ใหม่" จะขีดฆ่า หรือ ไม่ขีดฆ่า เนี่ยะ ฮา
ค่อนข้าง "พิสูจน์" ยาก ถึงขั้นยาก มาก อ่ะ ฮา
เมื่อก่อน ยายเห็นเขา ขีดเส้นคล่อม บน-ล่าง สองเส้น อ่ะ ฮา
แล้วใช้ "ตรายาง วันที่" ปั้ม ตลอดแนว เชื่อมต่อกัน อ่ะ ฮา
กรณีอย่างนี้ หากนำมาใช้ "ย้อนหลัง" น่าจะ โดนหนัก อ่ะ ฮา
ส่วน "อากรแสตมป์" ที่ใช้แล้ว
แต่ยังไม่ขีดฆ่า ก็ "ยังมีมูลค่า" โดยสภาพ อ่ะ ฮา
ทั้งสองกรณี ต้อง "เลือกใช้" ให้ถูกที่ ถูกเวลา อ่ะ
ต้องพิจารณา และยอมรับ ความ "เสี่ยง" ที่เกิดขึ้น อ่ะ ฮา
ยายเคย "ลอก" อากรแสตมป์ ที่ยังไม่ขีดฆ่า นำมาใช้ใหม่ อ่ะ ฮา
ตอนที่ "วังไชยา" เขารับโอนงานทะเบียนอาวุธปืน จากตำรวจ
ตอนนั้น เขาให้แปะ อากร ด้านหลัง เนื่องจากมันเยอะ จึงใช้ แม็กซ์ เย็บ
เอา "เล็บมือ" งัดนิดเดียว หลุดเป็นแผง เลยอ่ะ ฮา