เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
ตุลาคม 04, 2024, 06:27:34 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เว็บบอร์ด อวป. สามารถเข้าได้ทั้งสองทาง คือ www.gunsandgames.com และ www.gunsandgames.net ครับ
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 ... 3 4 5 [6] 7 8
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ศาลโลกจะพิจารณาคดีเขาพระวิหารกี่โมงครับมีถ่ายทอดหรือรายงานสดทางทีวีไหมครับ  (อ่าน 5111 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 4 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7665
ออฟไลน์

กระทู้: 9988



« ตอบ #75 เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2013, 11:54:36 PM »

ดูไทยพีบีเอส บอกว่าเราเสียดินแดนเพิ่ม ๑-๑.๕กม.ครับ

อยากให้ผู้ประกาศข่าวพูดผิดครับ...

ท่านทูตยังแถลงว่าจะต้องเจรจากันว่าจะกันพื้นที่เท่าไร ไอ้นักข่าวคนนี้มันสรุปตามความเห็นส่วนตัวแถมอ้างว่าศาลตัดสินแล้ว ถ้าอยากเล่นการเมืองนักก็ลาออกมาซะ
วันนีขอหยาบคายหน่อยเถอะ
บันทึกการเข้า
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #76 เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2013, 11:59:24 PM »

ดูไทยพีบีเอส บอกว่าเราเสียดินแดนเพิ่ม ๑-๑.๕กม.ครับ

อยากให้ผู้ประกาศข่าวพูดผิดครับ...

ท่านทูตยังแถลงว่าจะต้องเจรจากันว่าจะกันพื้นที่เท่าไร ไอ้นักข่าวคนนี้มันสรุปตามความเห็นส่วนตัวแถมอ้างว่าศาลตัดสินแล้ว ถ้าอยากเล่นการเมืองนักก็ลาออกมาซะ
วันนีขอหยาบคายหน่อยเถอะ



ยายเห็นด้วยนะ  ไอ้พวก  "ควาย สก" เนี่ยะ ฮา
เที่ยวอวดรู้  เที่ยวอวด  คาดการณ์ ตอนที่เขาจะ เข้าด้าย เข้าเข็มอ่ะ ฮา
เหมือนตอนลูกบอล  มันไปม้วนหน้าประตู  ยายจะฟัง  "ซาวน์แทรก" ฮา
แม่ง  เสีอกบรรยายโน่น บรรยายนี่  ถ้าอยู่ใกล้ ยายเอากระโถนน้ำหมาก ครอบหัวแล้วอ่ะ ฮา

เออ มึงจะแสดงความเห็น ก็โน่น หลังจากที่  "สปัสซั่ม"  หรือน้ำแตกไปแล้วค่อยมาว่า ค่อยมาคุย

5555 ห้าเอ้ย  "เสือก"  ไม่ถูกที่ ถูกเวลา อ่ะ ฮา  ขำก๊าก ขำก๊าก ขำก๊าก
บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #77 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 12:00:59 AM »

ศาลโลกตัดสินวันนี้สรุปแบบภาษาชาวบ้าน
1.ขอให้ศาลตีความ
-ศาลบอกกูมีอำนาจตีความ
2.พื้นที่ปราสาทเขาพระวิหาร(ซึ่งศาลตัดสินว่าเป็นของกัมพูชามาตั้งนานแล้ว)กินพื้นที่แค่ไหน
-ศาลบอกไม่ใช่พื้นที่กว้าง4ตร.กม. อย่างที่กัมพูชาอ้าง
-และก็ไม่ใช่อย่างที่ไทยอ้าง
3.แล้วตกลงกินพื้นที่แค่ไหนล่ะ
-ศาลบอกกูก็ไม่รู้เหมือนกัน พวกมึง2ประเทศอยู่ตรงนั้นเองยังไม่รู้ กูจะไปรู้ได้ไง ไปตกลงกันเอาเองไป้
(เลิกศาล)
.......เครียดกันทั้งวันมีแค่นี้เอง..555


+1 ฮา
บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
เบิ้ม
"ชีวิตคนนั้นแสนสั้น ความดีนั้นจักคงทน"
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 6424
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 50462



« ตอบ #78 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 12:01:28 AM »

ศาลโลกตัดสินวันนี้สรุปแบบภาษาชาวบ้าน
1.ขอให้ศาลตีความ
-ศาลบอกกูมีอำนาจตีความ
2.พื้นที่ปราสาทเขาพระวิหาร(ซึ่งศาลตัดสินว่าเป็นของกัมพูชามาตั้งนานแล้ว)กินพื้นที่แค่ไหน
-ศาลบอกไม่ใช่พื้นที่กว้าง4ตร.กม. อย่างที่กัมพูชาอ้าง
-และก็ไม่ใช่อย่างที่ไทยอ้าง
3.แล้วตกลงกินพื้นที่แค่ไหนล่ะ
-ศาลบอกกูก็ไม่รู้เหมือนกัน พวกมึง2ประเทศอยู่ตรงนั้นเองยังไม่รู้ กูจะไปรู้ได้ไง ไปตกลงกันเอาเองไป้
(เลิกศาล)
.......เครียดกันทั้งวันมีแค่นี้เอง..555

เครียดมากผมร่วง เกี่ยวมั้ยครับพี่Daimyo เห็นหัวล้านเยอะเลย  คิก คิก  +ครับ
บันทึกการเข้า

"ศรัทธาของท่าน ความเชื่อของท่าน ก็เป็นของท่าน ความเชื่อของเรา ศรัทธาของเรา ก็เป็นของเรา"
Daimyo
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 924
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 9042



« ตอบ #79 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 12:06:03 AM »

 Angry Angry
บันทึกการเข้า

ดังสายลมที่พัดผ่านลานป่า..พาใบไม้พลัดถิ่น..ดั่งสายน้ำที่ไหลรินพัดพา..นำดวงใจฉันมาใกล้เธอ..
"ความหวังดีที่เธอให้สังคม ฉันชื่นชมเธอเสมอ"
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #80 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 12:21:33 AM »

Angry Angry


ไอ้ภาพที่ 6 มุมล่างขวา  เรา "ประเทศไทย"
เอารั้วลวดหนาม ไปล้อมเอาไว้ตั้งแต่ 2505 โน่นแหละ อ่ะ ฮา

ตอนล้อม เขมร ก็ไม่ได้คัดค้าน  เขาเฉย เพราะศาลสั่งให้ "ประสาท" เป็นของเขาเท่านั้น
ศาล ให้  "เท่าที่ขอ"  ให้เกินจากคำขอไม่ได้  เวลาผ่านไป ห้าสิบปี ฮา
เขาจะย้อน  มาขอให้ตีความ  พื้นที่ข้างๆ หรือ โดยรอบ อีกครั้ง  อันนี้คือประเด็น

ทีนี้แหละ ศาลบอก  "เรื่องเดิม"  ไม่อยู่ในอำนาจของกูโว้ย ฮา

555 เพราะฉะนั้น  "กองกำลัง"  ของไทย จึงเข้าครอบครองพื้นที่ได้สมบรูณ์แบบ ฮา

แนวทางของเรื่องนี้  ทั้งสองฝ่าย  เขายืนยันเคารพ คำตัดสินของศาล
ไม่ว่า คำตัดสินนั้นจะออก หัว ออกก้อย ออกกลาง สองฝ่ายยอมรับทั้งหมด
ไม่ต้องมาบอก  กูไม่เชื่อกรรมการ  ฮา

แต่แนวทางที่เขาคุยกัน  เขายึดหลักเสมอภาค  เท่าเทียมกัน ไม่ได้ดูประเทศใหญ่ ประเทศเล็ก
เพราะฉะนั้น  ปัญหา "พระวิหาร"  จบแบบสวย  สมู๊ด แอส ซิลล์ ร่วมกันพัฒนาและบริหารต่อไป ฮา

เอ้าา  ภาพหายไปไหนแล้วอ่ะ ฮา
บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #81 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 12:43:32 AM »

เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ผู้สื่อข่าวรายงานจากพระราชวังสันติภาพ ซึ่งเป็นที่ตั้งของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือศาลโลก กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ว่า เมื่อเวลา 10.00 น. ตามเวลาท้องถิ่น (ตรงกับไทยเวลา 16.00 น.)


ผู้พิพากษา นายปีเตอร์ ทอมก้า ประธานองค์คณะผู้พิพากษาศาลโลกขึ้นนั่งบัลลังก์ อ่านคำพิพากษา เริ่มด้วยการแสดงความเสียใจต่อผู้นำไทย ในกรณีสมเด็จพระสังฆราชสิ้นพระชนม์ หลังจากนั้นต่อด้วยคำพิพากษา มีเนื้อหาโดยสรุป ดังต่อไปนี้


ศาลสรุปว่า ข้อพิพาทมีความสัมพันธ์ใน 3 แง่ 1.มีข้อพิพาทว่า คำพิพากษาปี 1962 นั้น ได้ตัดสินหรือไม่ได้ตัดสินว่ามีข้อผูกพันเส้นแบ่งเขตแดนในแผนที่ภาคผนวก 1 ให้เป็นเขตแดนระหว่างสองประเทศหรือไม่  2.จะมีความสัมพันธ์ในกรณีพิพาท แง่ความหมายและขอบเขตของวลีที่ว่า บริเวณดินแดนกัมพูชาในบทปฏิบัติที่ 2 ของคำพิพากษาปี 1962  ศาลได้พูดว่าเป็นผลที่ตามมาจากข้อบทปฏิบัติที่ 1 ยืนยันว่าปราสาทพระวิหารอยู่ในอำนาจอธิปไตยของกัมพูชา และ 3.ข้อพิพาทเรื่องพันธะกรณีของไทย เรื่องการถอนกำลังทหาร เป็นไปตามข้อบทปฏิบัติการที่ 2 โดยคำนึงถึงความเห็นที่ต่างกัน


ศาลเห็นว่ามีความจำเป็นที่ต้องตีความข้อบทปฏิบัติการที่ 2 และผลของกฎหมายของแผนที่ภาคผนวก 1 ภายในขอบเขตนี้ กัมพูชาได้ร้องขอ ศาลจึงรับคำร้องของกัมพูชา ด้วยเหตุข้างต้น ศาลเห็นว่ามีข้อพิพาทของสองฝ่าย เรื่องในมาตรา 60 ของธรรมนูญศาล ด้วยเหตุนี้ศาลจึงมีขอบเขตอำนาจในการตีความ คำพิพากษาปี 1962 จึงรับคำร้องไว้พิจารณา" ผู้พิพากษา กล่าว


ไทยได้กล่าวอ้างถึงพฤติกรรมของคู่ความ เมื่อเดือนมิถุนายน 1962 และช่วงที่มีการอ่านคำพิพาษาเดือนธันวาคม 2008 ไทยได้กล่าวว่าพฤิตกรรมดังกล่าวมีส่วนเกี่ยวข้องกับคำพิพากษา แต่ไม่ได้มีส่วนผูกพันคู่ความการตีความซึ่งอาจกระทบต่อพฤติกรรมต่อๆไป อาจดูได้จากสนธิสัญญากรุงเวียนนา คำพิพากษามีผลผูกพันตามธรรมนูญศาล หรือการวินิจฉัยว่าศาลพิจารณาอะไร ไม่ได้อยู่ที่ความเข้าใจของคู่ความ และขอบเขตและความหมายนั้นไม่อาจเปลี่ยนแปลงไปตามพฤติกรรมของคู่ความในภายหลังในการตีความนั้น ศาลจะไม่เข้าไปพิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่ในประเด็นนั้น ศาลเห็นว่าคำพิพากษาเมื่อปี 1962 (พ.ศ.2505) นั้นมีลักษณะ 3 ประการที่เห็นได้ชัด


1.ศาลพิจารณาว่าเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยเกี่ยวกับที่ตั้งปราสาทและศาลไม่ได้มีหน้าที่ปักปันเขตแดน ศาลจึงกลับไปดูคำพิพากษา 1962 ได้ดูคำคัดค้านเบื้องต้นว่า กรณีนี้เป็นประเด็นเรื่องเขตอำนาจอธิปไตยมากกว่าเรื่องการกำหนดเขตแดน เพราะฉะนั้น เรื่องข้อ 1 และ 2 ของกัมพูชานั้น ศาลจะรับพิจารณาไว้เท่าที่เป็นเหตุและไม่ถือว่าเป็นข้อเรียกร้องที่ศาลต้องชี้ขาดในข้อบทปฏิบัติการ โดยไม่มีการกล่าวถึงแผนที่ภาคผนวก 1 หรือสถานที่ของเขตแดน ในข้อบทปฏิบัติการ ไม่มีการแนบแผนที่คำพิพากษา และศาลไม่ได้กล่าวถึงความยุ่งยากในการใช้ แผนที่ภาคผนวก1 ประเด็นต่างๆ ที่คู่ความได้กล่าวอ้างนั้น มีความสำคัญในเรื่องเขตแดน


ประการที่ 2 แผนที่ภาคผนวก 1 เป็นเหตุผลหลักในการพิพากษา เมื่อได้ศึกษาประวัติศาสตร์ของคดี และพิจารณาผลความเกี่ยวเนื่องกับสนธิสัญญา ศาลเห็นว่า ประเด็นหลักคือคู่ความได้รับรองแผนที่ภาคผนวก 1 และเส้นแบ่งเขตแดนอันเป็นผลของคณะกรรมการปักปันเขตแดน บริเวณปราสาทพระวิหาร และมีผลผูกพันหรือไม่ ศาลได้ดูพฤติกรรมของคู่ความในการเข้าไปเยี่ยมชม โดยเฉพาะสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ โดยมีเจ้าหน้าที่ฝรั่งเศสให้การต้อนรับ ศาลเห็นว่า เหมือนเป็นการยอมรับโดยทางอ้อมของสยามในอธิปไตยของปราสาทพระวิหาร รวมทั้งพฤติกรรมอื่นๆ ของไทยในเวลาต่อมา ถือว่าเป็นการยืนยันของไทยในการยอมรับเส้นแบ่งเขตแดน ในภาคผนวก 1


โดยไทยในปี 1908 (พ.ศ.2451) และ1909 (พ.ศ.2452) ได้ยอมรับว่าแผนที่ภาคผนวก 1 เป็นผลของคณะกรรมการปักปัน และยอมรับว่าเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่นำไปสู่การวินิจฉัยว่าปราสาทพระวิหารอยู่ในกัมพูชา การยอมรับของคู่ความสองฝ่าย ทำให้แผนที่ภาคผนวก 1 เป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญา จึงเห็นได้ว่า การตีความสนธิสัญญาจะต้องชี้ขาดว่า แผนที่ภาคผนวก 1 เป็นแผนที่ในพื้นที่ขัดแย้ง


3.ศาลได้มีความชัดเจนว่า ศาลดูเฉพาะบริเวณปราสาทพระวิหารเท่านั้น เป็นบริเวณที่เล็กมาก ปี 1962 กัมพูชากล่าวว่า พื้นที่พิพาทเป็นพื้นที่ที่เล็กมาก และในถ้อยแถลงอื่นๆ ก็ไม่มีความขัดแย้งกัน ในปี 1962 คำพิพากษาได้แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ที่พิพาทกันเป็นพื้นที่ที่เล็กมาก หลังการพิจารณาคดี ศาลได้อธิบายบริเวณนั้นด้วย ว่า ปราสาทพระวิหาร อยู่ในด้านตะวันออกของเทือกเขาดงรัก ทางทั่วไปถือว่าเป็นเขตแดนระหว่างสองประเทศ คือทางใต้ของกัมพูชาทางใต้และทางเหนือของไทย


ส่วนแผนที่ภาคผนวก 1 ได้วางเขตแดน ศาลก็ได้บอกว่าจะพิจารณาเฉพาะบริเวณนี้เท่านั้นตามคำพิพากษา 1962 ศาลจึงได้ดูข้อบทปฏิบัติการ วรรค 2 และ 3 เป็นผลสืบเนื่องจากข้อบทปฏิบัติการที่ 1 จึงเห็นว่า ข้อบทปฏิบัติการทั้งสามต้องอ่านเป็นข้อบทปฏิบัติการเดียวกัน ไม่สามารถดูคำใดคำหนึ่งเพื่อตีความได้


ศาลเห็นว่า ข้อบทปฏิบัติการข้อ 1 นั้นชัดเจน วรรคดังกล่าวศาลเห็นว่า ปราสาทพระวิหารอยู่ในดินแดนภายใต้อธิปไตยกัมพูชา แต่คงมีความจำเป็นที่จะต้องกลับมาที่ขอบเขต เมื่อพิจารณาข้อ 2 และ 3 ข้อพิพาททั้งสองขัดกันที่ข้อ 2


แต่ข้อ 2 พูดถึงเพียงว่าไทยจะต้องถอนเจ้าหน้าที่ ไม่ได้พูดถึงดินแดนของกัมพูชาและไม่ได้กล่าวว่า การถอนจะต้องถอนไป ณ ที่ใด ข้อบทปฏิบัติการได้พูดถึงเขตแดนแค่บริเวณปราสาทพระวิหารและใกล้เคียง ศาลไม่ได้กำหนดว่าเจ้าหน้าที่ใดของไทยต้องถอนกำลังออกไปที่ใดบ้าง บอกแต่ว่าเจ้าหน้าที่ที่อยู่ในที่นั้น


ข้อบทปฏิบัติการที่ 2 ระบุว่า ไทยต้องถอนทหาร และเจ้าหน้าที่ดูแลอยู่ในปราสาทพระวิหารและใกล้เคียง ศาลจึงเห็นว่าจะต้องเริ่มโดยดูจากหลักฐานพยานปี 1962 เกี่ยวกับสถานที่ ซึ่งเจ้าหน้าที่ไทยประจำอยู่ พยานหลักฐานเดียวที่มีคือ ที่ไทยนำเสนอซึ่งได้มีการเยี่ยมชมเมื่อ 1961 ระหว่างการพิจารณาคดีในการซักค้านของฝ่ายกัมพูชา พยานผู้เชี่ยวชาญของไทยบอกว่า มีแค่ผู้เฝ้ายามอยู่ 1 คนและตำรวจ มีการตั้งแคมป์ทางตะวันออกเฉียงเหนือของปราสาท และไม่ไกลก็มีบ้านพักอยู่ มีสถานีตำรวจนั้น ทางทนายฝ่ายไทยอ้างว่า อยู่ทางใต้ของแผนที่ภาคผนวก 1 แต่อยู่เหนือของเส้นสันปันน้ำ ระหว่างการพิจารณาคดีปี 1962 กัมพูชาได้นำเสนอข้อต่อสู้อีกข้อว่า จะต้องใช้เส้นสันปันน้ำในการปักปันเขตแดน"


ผู้พิพากษาศาลโลก กล่าวต่อว่า อย่างไรก็ตาม ศาลเห็นว่าไม่จำเป็นต้องพิจารณาเส้นสันปันน้ำบริเวณปราสาทพระวิหาร การอ้างถึงสันปันน้ำ โดยทนายไทยนั้นเป็นสำคัญ เพราะอ้างว่าการแบ่งเส้นต่างๆ มีความใกล้เคียงกับที่กัมพูชาเสนอ เพราะฉะนั้นการที่มีสถานีตำรวจไทยตั้งอยู่เหนือเส้นสันปันน้้ำ ที่เป็นไปตามมติ ครม. ของไทย ที่ไทยบอกว่าอยู่นอกบริเวณใกล้เคียงปราสาทพระวิหาร เมื่อไทยถูกบอกว่าให้ถอนทหาร บริเวณปราสาทพระวิหารและใกล้เคียง น่าจะมีความประสงค์ให้เจ้าหน้าที่ต่างๆที่ประจำการ ตามคำเบิกความของไทยในคดีนั้น เนื่องจากไม่มีหลักฐานว่ามีเจ้าหน้าที่ไทยประจำการบริเวณอื่นแต่อย่างใด บริเวณปราสาทพระวิหารควรจะยาวไปถึง สถานที่หรือที่ตั้งมั่นของตำรวจในขณะนั้น เนื่องจากอยู่ใกล้เส้นตามมติ ครม. จึงไม่ถือว่าเป็นเส้นแบ่งเขตแดนสองประเทศไทยได้


ศาลได้เน้นย้ำบริเวณปราสาทว่า ปราสาทตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เห็นได้ชัดเจนมาก ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่โดดเด่น คือทางตะวันออกเฉียงใต้และทางตะวันตกเฉียงใต้ของหน้าผาฝั่งกัมพูชา และด้านเหนือกับตะวันตกเฉียงเหนือเป็นที่ที่อยู่ในเทือกเขาดงรัก หุบเขาทั้งสองนี้ เป็นช่องทางที่กัมพูชาสามารถเข้าถึงปราสาทพระวิหารได้เพราะฉะนั้นตามความเข้าใจเบื้องต้นบริเวณปราสาทพระวิหาร ศาลเห็นว่า เขตแดนของกัมพูชาทางเหนือนั้น ไม่เกินเส้นแบ่งของแผนที่ภาคผนวก 1 ศาสตราจารย์ฟรีดริช แอคเคอร์มานน์ ไม่ได้ให้ระบุระยะทางที่ชัดเจน แต่ตามพยานหลักฐานมีความชัดเจนว่าด่านตำรวจอยู่ในระยะที่ไม่ไกลมากทางใต้และอยู่ในจุดใดจุดหนึ่งบนแผ่นที่ภาคผนวก 1


"ดังนั้น ศาลพิจารณาพื้นที่ที่จำกัด ทั้งตะวันออกเฉียงเหนือและทางเหนือตามเหตุผล ถือว่าเป็นพื้นที่ของกัมพูชา ศาลเห็นว่าพื้นที่ตามข้อบทปฏิบัติการที่ 2 ควรขยายให้ครอบคลุมชะง่อนผา เพื่อนำมาใช้แทนที่ส่วนที่ได้มีการเลือกโดยมติ ครม.1962 ในข้อพิจารณาของกัมพูชาทางศาลไม่ได้สามารถทำคำจำกัดความ เกี่ยวกับคำว่า "บริเวณใกล้เคียงปราสาท" ว่าครอบคลุมนอกจากชะง่อนผาและภูมะเขือ ซึ่งศาลถือว่าไม่ได้เป็นการตีความที่ถูกต้องตามข้อ 1 ภูมะเขือในแผนที่นั้นเป็นพื้นที่ส่วนที่ต่างหากออกไป จากแผนที่ปี 1961 หรือแผนที่ซึ่งเป็นเอกสารแนบ


ข้อ 2 มีข้อพิจารณาในการพิจารณาปี 1961 ฝ่ายกัมพูชาไม่ได้ถือว่า ภูมะเขือ อยู่ภายในปราสาทพระวิหารในการพิจารณาข้อพิพาท ดังนั้น อดีตผู้ว่าการจังหวัดของกัมพูชา ถือว่าพระวิหารเป็นส่วนหนึ่งของอีกจังหวัด แต่ถือว่าภูมะเขือเป็นจังหวัดหนึ่ง ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องของกัมพูชา ขณะเดียวกันจังหวัดนี้ก็เล็กเกินกว่าที่ครอบคลุมพระวิหาร และภูมะเขือไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของบริเวณที่สำคัญที่ศาลจะต้องพิจารณา


ข้อ 3 ไม่ได้มีหลักฐานในการนำเสนอต่อศาลว่า ได้มีเจ้าหน้าที่ไทยหรือกำลังทหารอื่นๆ ของไทย อยู่บริเวณนั้น รวมถึงบริเวณพื้นที่ภูมะเขือซึ่งทำให้ไทยต้องถอนทหารออกจากบริเวณนั้น"


ท้ายสุด การที่กัมพูชาต้องการให้ตีความแผนที่ภาคผนวก 1 เกี่ยวกับเส้นสันปันน้ำของไทยนั้น ศาลไม่ได้เกี่ยวข้องกับการกำหนดว่าสันปันน้ำอยู่ที่ใด จึงเป็นไปไม่ได้ว่าศาลได้พิจาณาเรื่องสันปันน้ำ บอกไม่ได้ว่า อาณาบริเวณใดเป็นของปราสาทพระวิหาร ในปี 1962 ศาลไม่ได้พิจารณาบริเวณที่กว้างขวางมาก และไม่ได้กำหนดบริเวณใกล้เคียงปราสาทพระวิหาร เพื่อให้เข้าใจว่าจะต้องครอบคลุมจากชะง่อนผาของพระวิหาร แต่คำพิพากษาดังกล่าวไม่ได้หมายความว่าบริเวณภูมะเขืออยู่ในไทย เพราะศาลไม่ได้พิจารณาประเด็นนี้


ด้วยเหตุผลของการพิจารณา 1962 ตามที่ได้มีการร้องขอในกระบวนการพิจาณาของศาล ได้พิจารณาบริเวณปราสาทพระวิหารด้านตะวันออก, ใต้ และตะวันตกฉียงใต้ ได้มีชะง่อนผา และปี 1962 สองฝ่ายได้ตกลงกันว่าพื้นที่นั้นอยู่ภายใต้อธิปไตยของกัมพูชาและพื้นที่ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงหนือ ซึ่งมีแนวโน้มลาดชันน้อยกว่า และแยกปราสาทพระวิหารออกจากภูมะเขือ ก่อนที่จะลาดลงสู่พื้นที่ราบของกัมพูชา ดังนั้นศาลจึงพิจารณาว่า ภูมะเขืออยู่นอกพื้นที่และคำพิพากษาปี 1962 ไม่ได้พิจารณาว่าภูมะเขืออยู่ในไทยหรือกัมพูชา


ดังนั้น ชะง่อนหน้าผา และภูมะเขือ จะเริ่มที่จะยกสูงขึ้นจากพื้นราบนั้น ก็เป็นเส้นของแผนที่ภาคผนวก 1 โดยเส้นนั้น จะสูงขึ้นไปทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือและตามคำพิพากษา 1962 ได้มีการกำหนดให้ไทย ถอนกำลังออกจากบริเวณนั้น โดยต้องถอนทั้งหมด ศาลเข้าใจเรื่องที่ไทยระบุถึงการถ่ายโอนแผนที่เพื่อกำหนดพื้นที่เจาะจงตามเรื่องของวรรคดังกล่าวไปใช้ในทางปฏิบัติ ข้อพิจารณาอีกประการคือในปี 1962 ศาลไม่ได้กำหนดจะตีความคำพิพากษา การที่เราจะดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกับขณะนี้ ทั้งสองฝ่ายต้องปฏิบัติตาม พันธกรณีดังกล่าว ทั้งสองฝ่ายจึงไม่สามารถหาทางออกแต่ฝ่ายเดียวได้


คำพิพากษาปี 1962 ต้องมีการพิจารณาอย่างเบ็ดเสร็จสมบูรณ์ เรื่องวรรค 2 ศาลพิจารณา เรื่องความสัมพันธ์ของวรรคนี้ กับข้อบทปฏิบัติการ ขณะที่ข้อบทปฏิบัติการที่ 3 ไม่ได้มีการพิจราณา แต่สามารถทำให้เข้าใจได้ในข้อบทปฏิบัติอื่นๆ ในคำตัดสินของศาล เรื่องขอบเขตข้อพิพาท เป็นเรื่องของอธิปไตยเหนือบริเวณปราสาทพระวิหาร ดังนั้น ศาลจึงได้ตัดสินใจข้อปฏิบัติการที่ 1 ว่า ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ในอธิปไตยของกัมพูชาและไทย จึงมีพันธะถอนกำลังทหารและอื่นๆ ออกจากพื้นที่ของเขมร ในแถบของพระวิหาร และข้อบทปฏิบัติการที่ 3 ทำให้เกิดพันธะกรณีที่ครอบคุลมพื้นที่ขยาย เกินกว่าขอบเขตของปราสาทพระวิหารเอง ข้อบทปฏิบัติการที่ 3 ถือว่า เป็นพื้นที่ของกัมพูชาและคำบรรยายนี้ศาลถือว่าเป็นสิ่งที่เข้าใจได้โดยปริยาย จากข้อบทปฏิบัติการที่ 3


สำหรับเรื่องอธิปไตยเหนือพื้นที่ขึ้นอยู่กับอันนี้ พื้นที่ที่ศาลเกี่ยวข้องด้วย ในคดีแรกเป็นพื้นที่มีขนาดเล็กและชัดเจน ทางเหนือก็เห็นได้ชัด สถานการณ์นี้ ศาลเห็นว่า "บริเวณอธิปไตยของกัมพูชา อยู่พื้นที่เล็กๆ เป็นผลจากสิ่งที่ได้พูดถึงในวรรคแรก และลักษณะข้อพิพาทปี 1962 และลักษณะวิธีการในการเสนอคำให้การสองฝ่าย เพราะฉะนั้น เรื่องอธิปไตยที่ศาลได้พิจารณาทั้งที่พูดถึงวรรคแรกและวรรคที่ 3 ศาลมีข้อพิจารณาสรุปว่า พื้นที่ในวรรค 1 และ 3 เป็นพื้นที่เดียวกัน ดังนั้น ปราสาทพระวิหาร อยู่ในอธิปไตยของกัมพูชา เป็นการอ้างถึงววรรค 2 และ 3 ที่พูดถึงบริเวณปราสาทพระวิหาร ตามที่ได้มีการร้องขอให้พิจารณาในครั้งนี้ ดังนั้นศาลจึงเห็นว่าไม่จำเป็นต้องพิจารณาเรื่องเส้นแบ่งแยกไทยและกัมพูชา


ศาลสรุปว่า ชะง่อนผาในแผนที่ภาคผนวก 1 อยู่ภายใต้อธิปไตยกัมพูชา เป็นประเด็นข้อพิพาท 1962 เป็นประเด็นหัวใจของข้อขัดแย้งนี้ นอกจากนี้ ศาลไม่ได้พิจารณาว่าพันธะกรณีที่เกิดขึ้นในข้อบทปฏิบัติการที่ 2 เป็นสิ่งที่ไทยต้องดำเนินอย่างต่อเนื่องหรือไม่ ไทยได้รับว่าไทยมีหน้าที่ตามกฎหมาย ต้องเคารพบูรณาการ ของกัมพูชา หมายความว่า ครอบคลุมพื้นที่ของอธิปไตยกัมพูชา หลังการแก้ปัญหาอธิปไตยแล้ว ทั้งสองฝ่ายต้องดำเนินการตามพันธะกรณี และเคารพบูรณาการของสองประเทศ และมีหน้าที่แก้ไขปัญหาข้อพิพาทระหว่างกันด้วยิวิธีการอื่น


ด้วยหลักการของกฎบัตรสหประชาชาติ
เป็นเรื่องชัดเจนที่คำฟ้องทั้งสองฝ่ายปี 1952 และ 1962
ปราสาทพระวิหารถือว่าเป็นวัตถุโบราณสำหรับทั้งสองฝ่าย ขึ้นทะเบียนมรดกโลกแล้ว
ศาลเห็นว่าภายใต้การทำงานของทั้งสองฝ่าย ไทยและกัมพูชาต้องคุยกันเอง หารือกันเอง
โดยมียูเนสโกควบคุม ในฐานะที่เป็นมรดกโลก แต่ละรัฐมีพันธะกรณีที่ต้องดูแลและปกป้องมรดกโลกชิ้นนี้ไว้

 ภายใต้บริบทเหล่านี้ศาลต้องการเน้นว่า
การเข้าถึงปราสาทพระวิหารต้องเข้าถึงจากทางกัมพูชาด้วยเช่นกัน





สรุป วรรค 1 กัมพูชามีอธิปไตยเหนือทั้งชะง่อนผาที่ระบุไว้ในปี 1962
ไทยจึงมีพันธะต้องถอนกำลังหทรหารทั้งหมดบริเวณนั้น"


"ด้วยเหตุนี้ ศาลมีมติเอกฉันท์ 2 ประการดังนี้ คือ

 1.ด้วยอำนาจตามมาตรา 60 ของธรรมนูญศาล
 ทำให้การขอตีความของกัมพูชานั้น สิ่งเหล่านี้ ศาลมีอำนาจรับคำร้อง

 2.โดยมติเอกฉันท์ ศาลขอประกาศว่า ผลจากการพิจารณาคำขอตีความคำพิพากษา ณ วันที่ 15 มิถุนายน 1962
 ตามที่วินิจฉัยไว้ในความในย่อหน้า 98 ของคำพิพากษาใหม่นี้วินิฉัยได้ว่า

 กัมพูชามีอธิปไตยทั้งหมดเหนือชะง่อนผาที่ตั้งปราสาทพระวิหาร
 อันยังผลให้ไทยมีพันธะต้องถอนกำลังออกจากเขตแดนตรงนั้นทั้งกำลังทหารและตำรวจ
หรือเจ้าหน้าที่รักษาการอื่นๆ หรือ ผู้ดูแลรักษา ออกไปพ้นจากพื้นที่บริเวณดังกล่าวนั้น" ผู้พิพากษาศาลโลก กล่าว
บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
~ Sitthipong - รักในหลวง ~
"วาจาย่อมมีน้ำหนัก หากหนุนด้วยสรรพอาวุธ"
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 2953
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 23210



« ตอบ #82 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 01:12:35 AM »

ถ้า่ผมเป็นนายกฯ จะประกาศไมรับคำตัดสินของศาลโลกครับ   Angry
บันทึกการเข้า



...ไม่มีใครทำขาวให้เป็นดำ  หรือทำผิดให้เป็นถูกได้ตลอด...
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #83 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 06:33:52 AM »

เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ผู้สื่อข่าวรายงานจากพระราชวังสันติภาพ ซึ่งเป็นที่ตั้งของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือศาลโลก กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ว่า เมื่อเวลา 10.00 น. ตามเวลาท้องถิ่น (ตรงกับไทยเวลา 16.00 น.)


ผู้พิพากษา นายปีเตอร์ ทอมก้า ประธานองค์คณะผู้พิพากษาศาลโลกขึ้นนั่งบัลลังก์ อ่านคำพิพากษา เริ่มด้วยการแสดงความเสียใจต่อผู้นำไทย ในกรณีสมเด็จพระสังฆราชสิ้นพระชนม์ หลังจากนั้นต่อด้วยคำพิพากษา มีเนื้อหาโดยสรุป ดังต่อไปนี้


ศาลสรุปว่า ข้อพิพาทมีความสัมพันธ์ใน 3 แง่ 1.มีข้อพิพาทว่า คำพิพากษาปี 1962 นั้น ได้ตัดสินหรือไม่ได้ตัดสินว่ามีข้อผูกพันเส้นแบ่งเขตแดนในแผนที่ภาคผนวก 1 ให้เป็นเขตแดนระหว่างสองประเทศหรือไม่  2.จะมีความสัมพันธ์ในกรณีพิพาท แง่ความหมายและขอบเขตของวลีที่ว่า บริเวณดินแดนกัมพูชาในบทปฏิบัติที่ 2 ของคำพิพากษาปี 1962  ศาลได้พูดว่าเป็นผลที่ตามมาจากข้อบทปฏิบัติที่ 1 ยืนยันว่าปราสาทพระวิหารอยู่ในอำนาจอธิปไตยของกัมพูชา และ 3.ข้อพิพาทเรื่องพันธะกรณีของไทย เรื่องการถอนกำลังทหาร เป็นไปตามข้อบทปฏิบัติการที่ 2 โดยคำนึงถึงความเห็นที่ต่างกัน


ศาลเห็นว่ามีความจำเป็นที่ต้องตีความข้อบทปฏิบัติการที่ 2 และผลของกฎหมายของแผนที่ภาคผนวก 1 ภายในขอบเขตนี้ กัมพูชาได้ร้องขอ ศาลจึงรับคำร้องของกัมพูชา ด้วยเหตุข้างต้น ศาลเห็นว่ามีข้อพิพาทของสองฝ่าย เรื่องในมาตรา 60 ของธรรมนูญศาล ด้วยเหตุนี้ศาลจึงมีขอบเขตอำนาจในการตีความ คำพิพากษาปี 1962 จึงรับคำร้องไว้พิจารณา" ผู้พิพากษา กล่าว


ไทยได้กล่าวอ้างถึงพฤติกรรมของคู่ความ เมื่อเดือนมิถุนายน 1962 และช่วงที่มีการอ่านคำพิพาษาเดือนธันวาคม 2008 ไทยได้กล่าวว่าพฤิตกรรมดังกล่าวมีส่วนเกี่ยวข้องกับคำพิพากษา แต่ไม่ได้มีส่วนผูกพันคู่ความการตีความซึ่งอาจกระทบต่อพฤติกรรมต่อๆไป อาจดูได้จากสนธิสัญญากรุงเวียนนา คำพิพากษามีผลผูกพันตามธรรมนูญศาล หรือการวินิจฉัยว่าศาลพิจารณาอะไร ไม่ได้อยู่ที่ความเข้าใจของคู่ความ และขอบเขตและความหมายนั้นไม่อาจเปลี่ยนแปลงไปตามพฤติกรรมของคู่ความในภายหลังในการตีความนั้น ศาลจะไม่เข้าไปพิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่ในประเด็นนั้น ศาลเห็นว่าคำพิพากษาเมื่อปี 1962 (พ.ศ.2505) นั้นมีลักษณะ 3 ประการที่เห็นได้ชัด


1.ศาลพิจารณาว่าเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยเกี่ยวกับที่ตั้งปราสาทและศาลไม่ได้มีหน้าที่ปักปันเขตแดน ศาลจึงกลับไปดูคำพิพากษา 1962 ได้ดูคำคัดค้านเบื้องต้นว่า กรณีนี้เป็นประเด็นเรื่องเขตอำนาจอธิปไตยมากกว่าเรื่องการกำหนดเขตแดน เพราะฉะนั้น เรื่องข้อ 1 และ 2 ของกัมพูชานั้น ศาลจะรับพิจารณาไว้เท่าที่เป็นเหตุและไม่ถือว่าเป็นข้อเรียกร้องที่ศาลต้องชี้ขาดในข้อบทปฏิบัติการ โดยไม่มีการกล่าวถึงแผนที่ภาคผนวก 1 หรือสถานที่ของเขตแดน ในข้อบทปฏิบัติการ ไม่มีการแนบแผนที่คำพิพากษา และศาลไม่ได้กล่าวถึงความยุ่งยากในการใช้ แผนที่ภาคผนวก1 ประเด็นต่างๆ ที่คู่ความได้กล่าวอ้างนั้น มีความสำคัญในเรื่องเขตแดน


ประการที่ 2 แผนที่ภาคผนวก 1 เป็นเหตุผลหลักในการพิพากษา

เมื่อได้ศึกษาประวัติศาสตร์ของคดี และพิจารณาผลความเกี่ยวเนื่องกับสนธิสัญญา
ศาลเห็นว่า ประเด็นหลักคือคู่ความได้รับรองแผนที่ภาคผนวก 1
และเส้นแบ่งเขตแดนอันเป็นผลของคณะกรรมการปักปันเขตแดน บริเวณปราสาทพระวิหาร
และมีผลผูกพันหรือไม่

ศาลได้ดูพฤติกรรมของคู่ความในการเข้าไปเยี่ยมชม
โดยเฉพาะสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
โดยมีเจ้าหน้าที่ฝรั่งเศสให้การต้อนรับ

ศาลเห็นว่า เหมือนเป็นการยอมรับโดยทางอ้อมของสยามในอธิปไตยของปราสาทพระวิหาร
รวมทั้งพฤติกรรมอื่นๆ ของไทยในเวลาต่อมา
ถือว่าเป็นการยืนยันของไทยในการยอมรับเส้นแบ่งเขตแดน ในภาคผนวก 1


โดยไทยในปี 1908 (พ.ศ.2451) และ1909 (พ.ศ.2452) ได้ยอมรับว่าแผนที่ภาคผนวก 1 เป็นผลของคณะกรรมการปักปัน
 และยอมรับว่าเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่นำไปสู่การวินิจฉัยว่าปราสาทพระวิหารอยู่ในกัมพูชา
 การยอมรับของคู่ความสองฝ่าย ทำให้แผนที่ภาคผนวก 1 เป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญา
จึงเห็นได้ว่า การตีความสนธิสัญญาจะต้องชี้ขาดว่า แผนที่ภาคผนวก 1 เป็นแผนที่ในพื้นที่ขัดแย้ง



3.ศาลได้มีความชัดเจนว่า ศาลดูเฉพาะบริเวณปราสาทพระวิหารเท่านั้น เป็นบริเวณที่เล็กมาก ปี 1962 กัมพูชากล่าวว่า พื้นที่พิพาทเป็นพื้นที่ที่เล็กมาก และในถ้อยแถลงอื่นๆ ก็ไม่มีความขัดแย้งกัน ในปี 1962 คำพิพากษาได้แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ที่พิพาทกันเป็นพื้นที่ที่เล็กมาก หลังการพิจารณาคดี ศาลได้อธิบายบริเวณนั้นด้วย ว่า ปราสาทพระวิหาร อยู่ในด้านตะวันออกของเทือกเขาดงรัก ทางทั่วไปถือว่าเป็นเขตแดนระหว่างสองประเทศ คือทางใต้ของกัมพูชาทางใต้และทางเหนือของไทย


ส่วนแผนที่ภาคผนวก 1 ได้วางเขตแดน ศาลก็ได้บอกว่าจะพิจารณาเฉพาะบริเวณนี้เท่านั้นตามคำพิพากษา 1962 ศาลจึงได้ดูข้อบทปฏิบัติการ วรรค 2 และ 3 เป็นผลสืบเนื่องจากข้อบทปฏิบัติการที่ 1 จึงเห็นว่า ข้อบทปฏิบัติการทั้งสามต้องอ่านเป็นข้อบทปฏิบัติการเดียวกัน ไม่สามารถดูคำใดคำหนึ่งเพื่อตีความได้


ศาลเห็นว่า ข้อบทปฏิบัติการข้อ 1 นั้นชัดเจน วรรคดังกล่าวศาลเห็นว่า ปราสาทพระวิหารอยู่ในดินแดนภายใต้อธิปไตยกัมพูชา แต่คงมีความจำเป็นที่จะต้องกลับมาที่ขอบเขต เมื่อพิจารณาข้อ 2 และ 3 ข้อพิพาททั้งสองขัดกันที่ข้อ 2


แต่ข้อ 2 พูดถึงเพียงว่าไทยจะต้องถอนเจ้าหน้าที่ ไม่ได้พูดถึงดินแดนของกัมพูชาและไม่ได้กล่าวว่า การถอนจะต้องถอนไป ณ ที่ใด ข้อบทปฏิบัติการได้พูดถึงเขตแดนแค่บริเวณปราสาทพระวิหารและใกล้เคียง ศาลไม่ได้กำหนดว่าเจ้าหน้าที่ใดของไทยต้องถอนกำลังออกไปที่ใดบ้าง บอกแต่ว่าเจ้าหน้าที่ที่อยู่ในที่นั้น


ข้อบทปฏิบัติการที่ 2 ระบุว่า ไทยต้องถอนทหาร และเจ้าหน้าที่ดูแลอยู่ในปราสาทพระวิหารและใกล้เคียง ศาลจึงเห็นว่าจะต้องเริ่มโดยดูจากหลักฐานพยานปี 1962 เกี่ยวกับสถานที่ ซึ่งเจ้าหน้าที่ไทยประจำอยู่ พยานหลักฐานเดียวที่มีคือ ที่ไทยนำเสนอซึ่งได้มีการเยี่ยมชมเมื่อ 1961 ระหว่างการพิจารณาคดีในการซักค้านของฝ่ายกัมพูชา พยานผู้เชี่ยวชาญของไทยบอกว่า มีแค่ผู้เฝ้ายามอยู่ 1 คนและตำรวจ มีการตั้งแคมป์ทางตะวันออกเฉียงเหนือของปราสาท และไม่ไกลก็มีบ้านพักอยู่ มีสถานีตำรวจนั้น ทางทนายฝ่ายไทยอ้างว่า อยู่ทางใต้ของแผนที่ภาคผนวก 1 แต่อยู่เหนือของเส้นสันปันน้ำ ระหว่างการพิจารณาคดีปี 1962 กัมพูชาได้นำเสนอข้อต่อสู้อีกข้อว่า จะต้องใช้เส้นสันปันน้ำในการปักปันเขตแดน"


ผู้พิพากษาศาลโลก กล่าวต่อว่า อย่างไรก็ตาม ศาลเห็นว่าไม่จำเป็นต้องพิจารณาเส้นสันปันน้ำบริเวณปราสาทพระวิหาร การอ้างถึงสันปันน้ำ โดยทนายไทยนั้นเป็นสำคัญ เพราะอ้างว่าการแบ่งเส้นต่างๆ มีความใกล้เคียงกับที่กัมพูชาเสนอ เพราะฉะนั้นการที่มีสถานีตำรวจไทยตั้งอยู่เหนือเส้นสันปันน้้ำ ที่เป็นไปตามมติ ครม. ของไทย ที่ไทยบอกว่าอยู่นอกบริเวณใกล้เคียงปราสาทพระวิหาร เมื่อไทยถูกบอกว่าให้ถอนทหาร บริเวณปราสาทพระวิหารและใกล้เคียง น่าจะมีความประสงค์ให้เจ้าหน้าที่ต่างๆที่ประจำการ ตามคำเบิกความของไทยในคดีนั้น เนื่องจากไม่มีหลักฐานว่ามีเจ้าหน้าที่ไทยประจำการบริเวณอื่นแต่อย่างใด บริเวณปราสาทพระวิหารควรจะยาวไปถึง สถานที่หรือที่ตั้งมั่นของตำรวจในขณะนั้น เนื่องจากอยู่ใกล้เส้นตามมติ ครม. จึงไม่ถือว่าเป็นเส้นแบ่งเขตแดนสองประเทศไทยได้


ศาลได้เน้นย้ำบริเวณปราสาทว่า ปราสาทตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เห็นได้ชัดเจนมาก ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่โดดเด่น คือทางตะวันออกเฉียงใต้และทางตะวันตกเฉียงใต้ของหน้าผาฝั่งกัมพูชา และด้านเหนือกับตะวันตกเฉียงเหนือเป็นที่ที่อยู่ในเทือกเขาดงรัก หุบเขาทั้งสองนี้ เป็นช่องทางที่กัมพูชาสามารถเข้าถึงปราสาทพระวิหารได้เพราะฉะนั้นตามความเข้าใจเบื้องต้นบริเวณปราสาทพระวิหาร ศาลเห็นว่า เขตแดนของกัมพูชาทางเหนือนั้น ไม่เกินเส้นแบ่งของแผนที่ภาคผนวก 1 ศาสตราจารย์ฟรีดริช แอคเคอร์มานน์ ไม่ได้ให้ระบุระยะทางที่ชัดเจน แต่ตามพยานหลักฐานมีความชัดเจนว่าด่านตำรวจอยู่ในระยะที่ไม่ไกลมากทางใต้และอยู่ในจุดใดจุดหนึ่งบนแผ่นที่ภาคผนวก 1


"ดังนั้น ศาลพิจารณาพื้นที่ที่จำกัด ทั้งตะวันออกเฉียงเหนือและทางเหนือตามเหตุผล ถือว่าเป็นพื้นที่ของกัมพูชา ศาลเห็นว่าพื้นที่ตามข้อบทปฏิบัติการที่ 2 ควรขยายให้ครอบคลุมชะง่อนผา เพื่อนำมาใช้แทนที่ส่วนที่ได้มีการเลือกโดยมติ ครม.1962 ในข้อพิจารณาของกัมพูชาทางศาลไม่ได้สามารถทำคำจำกัดความ เกี่ยวกับคำว่า "บริเวณใกล้เคียงปราสาท" ว่าครอบคลุมนอกจากชะง่อนผาและภูมะเขือ ซึ่งศาลถือว่าไม่ได้เป็นการตีความที่ถูกต้องตามข้อ 1 ภูมะเขือในแผนที่นั้นเป็นพื้นที่ส่วนที่ต่างหากออกไป จากแผนที่ปี 1961 หรือแผนที่ซึ่งเป็นเอกสารแนบ


ข้อ 2 มีข้อพิจารณาในการพิจารณาปี 1961 ฝ่ายกัมพูชาไม่ได้ถือว่า ภูมะเขือ อยู่ภายในปราสาทพระวิหารในการพิจารณาข้อพิพาท ดังนั้น อดีตผู้ว่าการจังหวัดของกัมพูชา ถือว่าพระวิหารเป็นส่วนหนึ่งของอีกจังหวัด แต่ถือว่าภูมะเขือเป็นจังหวัดหนึ่ง ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องของกัมพูชา ขณะเดียวกันจังหวัดนี้ก็เล็กเกินกว่าที่ครอบคลุมพระวิหาร และภูมะเขือไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของบริเวณที่สำคัญที่ศาลจะต้องพิจารณา


ข้อ 3 ไม่ได้มีหลักฐานในการนำเสนอต่อศาลว่า ได้มีเจ้าหน้าที่ไทยหรือกำลังทหารอื่นๆ ของไทย อยู่บริเวณนั้น รวมถึงบริเวณพื้นที่ภูมะเขือซึ่งทำให้ไทยต้องถอนทหารออกจากบริเวณนั้น"


ท้ายสุด การที่กัมพูชาต้องการให้ตีความแผนที่ภาคผนวก 1 เกี่ยวกับเส้นสันปันน้ำของไทยนั้น ศาลไม่ได้เกี่ยวข้องกับการกำหนดว่าสันปันน้ำอยู่ที่ใด จึงเป็นไปไม่ได้ว่าศาลได้พิจาณาเรื่องสันปันน้ำ บอกไม่ได้ว่า อาณาบริเวณใดเป็นของปราสาทพระวิหาร ในปี 1962 ศาลไม่ได้พิจารณาบริเวณที่กว้างขวางมาก และไม่ได้กำหนดบริเวณใกล้เคียงปราสาทพระวิหาร เพื่อให้เข้าใจว่าจะต้องครอบคลุมจากชะง่อนผาของพระวิหาร แต่คำพิพากษาดังกล่าวไม่ได้หมายความว่าบริเวณภูมะเขืออยู่ในไทย เพราะศาลไม่ได้พิจารณาประเด็นนี้


ด้วยเหตุผลของการพิจารณา 1962 ตามที่ได้มีการร้องขอในกระบวนการพิจาณาของศาล ได้พิจารณาบริเวณปราสาทพระวิหารด้านตะวันออก, ใต้ และตะวันตกฉียงใต้ ได้มีชะง่อนผา และปี 1962 สองฝ่ายได้ตกลงกันว่าพื้นที่นั้นอยู่ภายใต้อธิปไตยของกัมพูชาและพื้นที่ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงหนือ ซึ่งมีแนวโน้มลาดชันน้อยกว่า และแยกปราสาทพระวิหารออกจากภูมะเขือ ก่อนที่จะลาดลงสู่พื้นที่ราบของกัมพูชา ดังนั้นศาลจึงพิจารณาว่า ภูมะเขืออยู่นอกพื้นที่และคำพิพากษาปี 1962 ไม่ได้พิจารณาว่าภูมะเขืออยู่ในไทยหรือกัมพูชา


ดังนั้น ชะง่อนหน้าผา และภูมะเขือ จะเริ่มที่จะยกสูงขึ้นจากพื้นราบนั้น ก็เป็นเส้นของแผนที่ภาคผนวก 1 โดยเส้นนั้น จะสูงขึ้นไปทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือและตามคำพิพากษา 1962 ได้มีการกำหนดให้ไทย ถอนกำลังออกจากบริเวณนั้น โดยต้องถอนทั้งหมด ศาลเข้าใจเรื่องที่ไทยระบุถึงการถ่ายโอนแผนที่เพื่อกำหนดพื้นที่เจาะจงตามเรื่องของวรรคดังกล่าวไปใช้ในทางปฏิบัติ ข้อพิจารณาอีกประการคือในปี 1962 ศาลไม่ได้กำหนดจะตีความคำพิพากษา การที่เราจะดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกับขณะนี้ ทั้งสองฝ่ายต้องปฏิบัติตาม พันธกรณีดังกล่าว ทั้งสองฝ่ายจึงไม่สามารถหาทางออกแต่ฝ่ายเดียวได้


คำพิพากษาปี 1962 ต้องมีการพิจารณาอย่างเบ็ดเสร็จสมบูรณ์ เรื่องวรรค 2 ศาลพิจารณา เรื่องความสัมพันธ์ของวรรคนี้ กับข้อบทปฏิบัติการ ขณะที่ข้อบทปฏิบัติการที่ 3 ไม่ได้มีการพิจราณา แต่สามารถทำให้เข้าใจได้ในข้อบทปฏิบัติอื่นๆ ในคำตัดสินของศาล เรื่องขอบเขตข้อพิพาท เป็นเรื่องของอธิปไตยเหนือบริเวณปราสาทพระวิหาร ดังนั้น ศาลจึงได้ตัดสินใจข้อปฏิบัติการที่ 1 ว่า ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ในอธิปไตยของกัมพูชาและไทย จึงมีพันธะถอนกำลังทหารและอื่นๆ ออกจากพื้นที่ของเขมร ในแถบของพระวิหาร และข้อบทปฏิบัติการที่ 3 ทำให้เกิดพันธะกรณีที่ครอบคุลมพื้นที่ขยาย เกินกว่าขอบเขตของปราสาทพระวิหารเอง ข้อบทปฏิบัติการที่ 3 ถือว่า เป็นพื้นที่ของกัมพูชาและคำบรรยายนี้ศาลถือว่าเป็นสิ่งที่เข้าใจได้โดยปริยาย จากข้อบทปฏิบัติการที่ 3


สำหรับเรื่องอธิปไตยเหนือพื้นที่ขึ้นอยู่กับอันนี้ พื้นที่ที่ศาลเกี่ยวข้องด้วย ในคดีแรกเป็นพื้นที่มีขนาดเล็กและชัดเจน ทางเหนือก็เห็นได้ชัด สถานการณ์นี้ ศาลเห็นว่า "บริเวณอธิปไตยของกัมพูชา อยู่พื้นที่เล็กๆ เป็นผลจากสิ่งที่ได้พูดถึงในวรรคแรก และลักษณะข้อพิพาทปี 1962 และลักษณะวิธีการในการเสนอคำให้การสองฝ่าย เพราะฉะนั้น เรื่องอธิปไตยที่ศาลได้พิจารณาทั้งที่พูดถึงวรรคแรกและวรรคที่ 3 ศาลมีข้อพิจารณาสรุปว่า พื้นที่ในวรรค 1 และ 3 เป็นพื้นที่เดียวกัน ดังนั้น ปราสาทพระวิหาร อยู่ในอธิปไตยของกัมพูชา เป็นการอ้างถึงววรรค 2 และ 3 ที่พูดถึงบริเวณปราสาทพระวิหาร ตามที่ได้มีการร้องขอให้พิจารณาในครั้งนี้ ดังนั้นศาลจึงเห็นว่าไม่จำเป็นต้องพิจารณาเรื่องเส้นแบ่งแยกไทยและกัมพูชา


ศาลสรุปว่า ชะง่อนผาในแผนที่ภาคผนวก 1 อยู่ภายใต้อธิปไตยกัมพูชา เป็นประเด็นข้อพิพาท 1962 เป็นประเด็นหัวใจของข้อขัดแย้งนี้ นอกจากนี้ ศาลไม่ได้พิจารณาว่าพันธะกรณีที่เกิดขึ้นในข้อบทปฏิบัติการที่ 2 เป็นสิ่งที่ไทยต้องดำเนินอย่างต่อเนื่องหรือไม่ ไทยได้รับว่าไทยมีหน้าที่ตามกฎหมาย ต้องเคารพบูรณาการ ของกัมพูชา หมายความว่า ครอบคลุมพื้นที่ของอธิปไตยกัมพูชา หลังการแก้ปัญหาอธิปไตยแล้ว ทั้งสองฝ่ายต้องดำเนินการตามพันธะกรณี และเคารพบูรณาการของสองประเทศ และมีหน้าที่แก้ไขปัญหาข้อพิพาทระหว่างกันด้วยิวิธีการอื่น


ด้วยหลักการของกฎบัตรสหประชาชาติ
เป็นเรื่องชัดเจนที่คำฟ้องทั้งสองฝ่ายปี 1952 และ 1962
ปราสาทพระวิหารถือว่าเป็นวัตถุโบราณสำหรับทั้งสองฝ่าย ขึ้นทะเบียนมรดกโลกแล้ว
ศาลเห็นว่าภายใต้การทำงานของทั้งสองฝ่าย ไทยและกัมพูชาต้องคุยกันเอง หารือกันเอง
โดยมียูเนสโกควบคุม ในฐานะที่เป็นมรดกโลก แต่ละรัฐมีพันธะกรณีที่ต้องดูแลและปกป้องมรดกโลกชิ้นนี้ไว้

 ภายใต้บริบทเหล่านี้ศาลต้องการเน้นว่า
การเข้าถึงปราสาทพระวิหารต้องเข้าถึงจากทางกัมพูชาด้วยเช่นกัน





สรุป วรรค 1 กัมพูชามีอธิปไตยเหนือทั้งชะง่อนผาที่ระบุไว้ในปี 1962
ไทยจึงมีพันธะต้องถอนกำลังหทรหารทั้งหมดบริเวณนั้น"


"ด้วยเหตุนี้ ศาลมีมติเอกฉันท์ 2 ประการดังนี้ คือ

 1.ด้วยอำนาจตามมาตรา 60 ของธรรมนูญศาล
 ทำให้การขอตีความของกัมพูชานั้น สิ่งเหล่านี้ ศาลมีอำนาจรับคำร้อง

 2.โดยมติเอกฉันท์ ศาลขอประกาศว่า ผลจากการพิจารณาคำขอตีความคำพิพากษา ณ วันที่ 15 มิถุนายน 1962
 ตามที่วินิจฉัยไว้ในความในย่อหน้า 98 ของคำพิพากษาใหม่นี้วินิฉัยได้ว่า

 กัมพูชามีอธิปไตยทั้งหมดเหนือชะง่อนผาที่ตั้งปราสาทพระวิหาร
 อันยังผลให้ไทยมีพันธะต้องถอนกำลังออกจากเขตแดนตรงนั้นทั้งกำลังทหารและตำรวจ
หรือเจ้าหน้าที่รักษาการอื่นๆ หรือ ผู้ดูแลรักษา ออกไปพ้นจากพื้นที่บริเวณดังกล่าวนั้น" ผู้พิพากษาศาลโลก กล่าว



ฮา  ประเด็นที่ยายเคยเขียน (ยายไม่ได้เป็นคนเขียนคนแรกนะ ฮา)  คือ
การที่เจ้านาย  จะเสด็จ ไปประสาทพระวิหาร  ต้องทำหนังสือ "ขออนุญาต" ต่อข้าหลวงฝรั่งเศส ฮา

เอ้า  ถ้ามันเป็นของไทย หรือ ไทยไม่ยอมรับคำตัดสิน  แล้วจะขออนุญาติทำมัย อ่ะ ฮา

ยายเห็นมีคนเขียน " เราต้องทวง "  ประสาท กลับคืนมาให้พ่อ ฮา
ไอ้พวกนี้  ยายแนะนำ  อย่าเล่นเวปปืน เลย  เพราะสมอง มันมีแต่  " ขี้ "อ่ะ ฮา

ไอ้คนเข้ามาเวปปืนเนี่ยะ มีปืนทุกคน  โน่นไปเลย  กระโดดข้ามรั้ว ไปเล้ย ฮา

555  บางที  "เจ้าไทย"  ก็ทำเรื่อง เปิ่นๆ  เหมือนกันอ่ะ ฮา
บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #84 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 06:34:56 AM »

ถ้า่ผมเป็นนายกฯ จะประกาศไมรับคำตัดสินของศาลโลกครับ   Angry




บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
bigbang
จงใช้สติก่อนใช้ปืน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1018
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6603


รูปจากเวปผู้จัดการครับ


« ตอบ #85 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 07:43:03 AM »

ถ้า่ผมเป็นนายกฯ จะประกาศไมรับคำตัดสินของศาลโลกครับ   Angry


มาถึงขั้นนี้แล้ว ไม่ต้องรีบครับ ค่อยๆดูกัน เขมรจะมาอ้างเอา 4.6 ไม่ได้แล้ว ศาลก็ไม่ขอยุ่งแล้ว
ตอนนี้ขอล้างบ้านให้สะอาดไล่เก็บกวาด โดยเฉพาะพวกที่ให้เขมรได้ขึ้นเป็นมรดกฝ่ายเดียว กับหวังฮุบ
ทรัพยกรในอ่าวไทย ครับ
บันทึกการเข้า

อเสวนา จะ พาลานัง
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7665
ออฟไลน์

กระทู้: 9988



« ตอบ #86 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 10:07:26 AM »

เรื่องก็ไปที่คณะปักปันเขตแดนทีนี้เราปักแล้วเสนอเขาจะเอาๆไหมไม่เอาไม่เอาก็รบกัน แต่ให้ร่วมมือพัฒนามรดกโลกนี่ยังไงกัน
แต่ที่เราทำตามศาลไม่ได้แน่ๆคือ ถอนกำลังออกจากประสาท เพราะไม่มีใครประจำตั้งแต่ปี 2505 แล้ว  กิ๊วก๊าว

ยังมีอีกหลายจุดนะชักเป้นห่วงเช่นภาคเหนือตะวันออก ภาคเหนือตะวันตก เป็นสีเทาๆอยู่บางจุดเราไปสร้างถนนปักเสาไฟฟ้าไว้แล้วก็มี
บันทึกการเข้า
น้าเสก คนเดิม
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 712
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 14502


รับแขก...แจกเหล้า...เฝ้าสำนักงาน


« ตอบ #87 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 10:14:29 AM »

ถ้า่ผมเป็นนายกฯ จะประกาศไมรับคำตัดสินของศาลโลกครับ   Angry

เห็นนายกฯ อ่านแถลงข่าว...ต้องรีบเปิดหนีไปช่องอื่นครับ...กลัวว่าหล่อนจะอ่านสคริปผิดอีก ยี๊ ยี๊

ส่วนไอ้พวกอ่านข่าว...แล้วบอกว่า...เสียนิดเสียหน่อย...เพื่อได้ผลประโยชน์มหาศาลจากเขมร....อันนี้ก็รีบเปิดไปช่องอื่นครับ....กลัวทนไม่ไหวจะเอา "เกิบ" ขว้างใส่โทรทัศน์ ยี๊
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤศจิกายน 12, 2013, 10:16:44 AM โดย น้าเสก คนเดิม » บันทึกการเข้า

Southlander
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 5711
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 48212



« ตอบ #88 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 10:25:26 AM »

 ผมฟังการแปลของล่ามในการอ่านคำพิพากษาตั้งแต่ต้นจนจบประมาณหนึ่งชั่วโมง
ยอมรับว่า ฟังไม่เข้าใจครับ ทั้งเป็นภาษากฎหมาย ทั้งการแปลมาเป็นภาษาไทยอีกทอดหนึ่ง
 มาฟังเข้าใจเอาตอนที่คณะทำงานทีมทนายไทยแลนด์และท่านทูต วีระชัย พลาศรัย ให้สัมภาษณ์ออกทาง FM100.5
ขอชื่นชมทีมไทยแลนด์ทุกท่านที่ทำงานเต็มที่มากๆเลยทั้งทนายไทยและทนายต่างชาติ
ฟังการถาม การสัมภาษณ์ การแปลของท่านทูต  วีระชัย พลาศรัย แล้วยอมรับว่าท่านทูตนี้ สมเป็นท่านทูตทำงานเพื่อชาติไทยจริงๆ
ฉลาด หลักแหลม เชี่ยวชาญภาษาแปลชนิด เก็บทุกเม็ด เก่งจริงๆ
ผมชื่นชมทุกท่านครับยกเว้น ฝ่ายการเมืองของไทย

 นี่ถ้าไอ้หัวเหน่ง รมต.กระทรวงต่างประเทศของไทยทำงานได้สักเสี้ยวหนึ่งแบบนี้ คงจะดีไม่น้อย

ปล.ถึงขนาดในรายการมีคน SMS เข้ามาบอกว่า ถ้าได้นายกเป็นท่านทูตคนนี้ก็ดี ผมฟังแล้วเจ็บพิลึก
      มีนายกโง่ๆ นี่ประชาชนไม่สามารถเชิดหน้าชูคอได้อย่างเต็มภาคภูมิเลยจริงๆ ถ้าคนต่างชาติถามผมถึงนายกยูเป็นใคร ผมอยากมุดปี๊บ ไม่อยากพูดถึงเลยจริงๆ
บันทึกการเข้า

๏ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง  แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง
ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง   จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง
                      
                             โดย:นภาลัย สุวรรณธาดา พศ.๒๕๑๐
naisomchai
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #89 เมื่อ: พฤศจิกายน 12, 2013, 11:13:27 AM »

เรื่องที่ยกคุณธรรมาเป็นข้ออ้างในการเมืองระหว่างประเทศน่ะ เป็นเหตุผลของฝ่ายที่ด้อยแสนยานุภาพทางทหาร/หรือเสียเปรียบด้านกำลังทหารหนุนหลัง จะเป็นฝ่ายที่ยกมาอ้างครับ... แต่ไม่ใช่เป็นฝ่ายที่มีแสนยานุภาพทางทหารเหนือกว่าจะมาใช้เป็นข้ออ้าง ให้ตัวเอง"ถอนกำลังทหารเพราะมีคุณธรรมในหัวใจ"...

เรื่องการเมืองระหว่างประเทศ(Internation affair/diplomatic)เขามีวิธีคิดได้ 2 แบบคือหลัก"ผลประโยชน์แห่งชาติ"(National interest หรือ Realistic) หลักการนี้จะชั่งน้ำหนักว่าผลประโยชน์แห่งชาติจะคุ้มหรือไม่ หากดำเนินกุศโลบายทางการทูต(เจรจา/การข่าว/จารกรรม)หรือทางการทหาร(ยกทัพ) ส่วนเรื่องคุณธรรมตามหลักมนุษยชน/หรือหลักศาสนานั่นจะเอาไว้อธิบายให้คนที่ไม่รู้ครับ... ผลลัพธ์แห่งการนี้ เราจึงได้เห็นมหาอำนาจแย่งแหล่งน้ำมันดิบ ได้เห็นจีนกับญี่ปุ่นแย่งหมู่เกาะฯ ได้เห็นจีนยึดธิเบต ได้เห็นจีนรุกรานเวียตนาม ได้เห็นอาหรับกับอิสราเอลรบกัน ฯลฯ แล้วได้เห็นย้อนหลังไปถึงสงครามครูเสด ที่คริสต์กับอิสลามรบกันเพื่อแย่งเส้นทางสายไหม(ดูแลผลประโยชน์ในเส้นทางการค้า)...

หลักที่ 2 คือหลักคุณธรรม... อันนี้เขาเอาไว้อ้างเวลาที่แสนยานุภาพทางทหารสู้ไม่ได้ และไม่มีชาติอื่นหนุนหลัง(แลกผลประโยชน์กัน), ก็จะอ้างหลักคุณธรรม เช่นศาลโลกตัดสินแล้วให้ถอนทหาร ฉันก็เป็น"เด็กดี รีบถอนทหารทันที เพื่อบอกให้ชาวโลกรู้ว่าฉันเป็นเด็กดี", ซึ่งน่าสมเพชมาก สำหรับรัฐบาลหน้าไหนก็ตาม ที่ใช้เหตุผลเช่นนี้บังหน้าอธิบายให้แก่พลเมืองของประเทศตนเอง(มุขหลอกควาย - ด่าคนไม่เห็นด้วยทำนองคลั่งชาติ) ที่หลอกควายได้ ก็เพราะคน"ส่วนใหญ่"ของแผ่นดินนั้นมันมีคนโง่แยะ...

ศาลโลกตัดสินไปแล้ว ไม่ได้แปลว่าหากไม่ทำตามแล้วจะโดนหมายศาลสั่งเพื่อบังคับคดี และหากขัดหมายศาลก็จะโดนโทษมาตราอื่นที่หนักกว่า... แบบนี้มันเป็นเฉพาะศาลในประเทศ ที่มีสภาพบังคับกับพลเมืองในประเทศ, และประเด็นสำคัญคือพลเมืองในประเทศด้วยกันเอง สมควรต้องนับถือคุณธรรมเพื่อให้สังคมเป็นสุข แต่ไม่ใช่เรื่องระหว่างประเทศที่หลักทั่วไปมีว่า"ใครปืนโต จะได้เปรียบ"...

คนที่มันโง่ ได้รับฟังคำอธิบายเน้นคุณธรรมเป็นหลัก แล้วเสียเปรียบเขมรทุกอย่างทั้งสิ้นทั้งปวงนั่นขอให้รับรู้ด้วยเถิดว่ากำลังโดนหลอก เพราะตัวท่านนั้นโง่เหมือนควาย มันเลยหลอกได้หลอกดี เพื่อเอาผลประโยชน์มาใส่แก่ครอบครัว ตระกูล หรือวงศ์วานพรรคพวกมัน...

หากไทยจะยอมถอนทหารก็จะมีแค่ 2 เหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่งก็คือ 1) หากไม่ถอนแล้วจะโดนหมวกฟ้าเข้ามารักษาสันติภาพ ซึ่งเรื่องนี้บอกได้เลยว่าหากไม่ปะทะรุนแรง หมวกฟ้าจะไม่มา และหมวกฟ้าจะมาก็เมื่อมีผลประโยชน์แลกเปลี่ยน ดังนั้นตราบใดที่สามารถครอบครองแหล่งน้ำมันดิบไว้ในมือได้ หมวกฟ้าจะเป็นฝ่ายเดียวกับเราเสมอ...

2) ใช้เงื่อนไขการถอนทหารเป็นเครื่องต่อรองการเจรจาปักปันเขตแดนหลักที่เหลือให้หมด... เพื่อตัดเชื้อฟืนที่จะเป็นชนวนในอนาคต(และรักษาแหล่งทรัพยากรในทะเล) หากจะมีเรื่องเช่นนี้อีกในภายหน้า เพราะเล็งแล้วว่าคนไทยยังไงก็มีแนวโน้มว่าจะโง่ลงทุกวัน เนื่องจากพวกควายแดงมันไม่มีปัญญาสอนลูกหลานที่กำลังจะโต...

แล้วเราก็หวังว่ารัฐบาลนี้จะดำเนินกุศโลบายเพื่อผลประโยชน์แห่งชาติมากกว่าเพื่อผลประโยชน์แห่งญาติ, เพราะลูกคนสนิทฮุนเซ็นเป็นหลานเขยนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน...  และที่สำคัญที่สุดคือเบื่อคนโง่ในประเทศไทยมันแยะเหลือเกิน บางคนแก่จนเป็นยายคนได้อยู่แล้ว รู้เรื่องสารพัดเรื่อง แต่พอเอาเรื่องเล็กเรื่องน้อยมาต่อกันเป็นผืน มันมีแต่เรื่องโง่ๆ เหมือนคนอยู่แต่ในกะลา ไม่รู้จักมองเรื่องราวโลกภายนอกประเทศมั่งเลย...
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤศจิกายน 12, 2013, 11:49:27 AM โดย นายสมชาย(ฮา) - รักในหลวง » บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 3 4 5 [6] 7 8
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.124 วินาที กับ 22 คำสั่ง