โฮ่ๆๆๆ...บุพการีผมสอน อบรมมาดีน่ะครับ ว่าทะเลาะกับใครก็ทะเลาะกับคนนั้น อย่าไปด่าบุพการีเค้า คุณสมชายไม่รู้เหรอครับว่านี่เป็นคุณสมบัติของผู้ดี บุพการีของคุณสมชายไม่เคยสอนคุณสมชายเลยหรือครับ?
คำถาม .....ทำไมคนถ่อยจึงชอบแสดงความถ่อย
คำตอบ......เพราะคนถ่อย คิดว่าความถ่อยมันเท่ห์ เป็นความฉลาด เก่งกาจ อัจฉริยะ จึงประจานความถ่อยของตัวเองอยู่ร่ำไป
คุณสมชาย พุดได้อย่างระรื่น ยินดี ว่าได้ด่าบุพการีผู้อื่น มันก็ประจานตัวคุณสมชายและการเลี้ยงดู อบรม การศึกษา สันดานของคุณสมชายเองแหละครับ และก็เลิกอ้างมงคล 38 ประการได้แล้ว คนอย่างคุณผมยังไม่เห็นสักข้อ คนอย่างคุณเห็นมีแต่เสนียดจัญไร 500 ข้อ
โฮ่ๆๆๆๆ....
มีหลายเรื่อง...
เอาเรื่องแรกเรื่องสังคมควายๆ ที่บ้านควายชงโค, ผู้คนที่เติบโตมาในสังคมมันต้องผ่านกระบวนการเรียนรู้ เพราะเกิดมาช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ไม่เหมือนควายที่เกิดมาพร้อมกับสัญชาติญาณ เดินได้ทันทีไม่ต้องตั้งไข่... แล้วเรื่องที่เรียนรู้มันแยกเป็นหลายกลุ่ม โดยเฉพาะเรื่องที่ละเอียดๆสำหรับเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้เรื่องอื่นเพิ่มขึ้นมาในภายหลัง เรื่องแบบนี้สำคัญเพราะจะกำหนดชะตาชีวิตของเด็กคนนั้นว่าจะอยู่ในสังคมภายนอกได้อย่างไร...
โดยเฉพาะเรื่องทัศนคติที่มีต่อสิ่งแวดล้อม เช่นพฤติกรรมการเรียนรู้(สุจิปุลิ) และทัศนคติที่มีต่อบุคคลอื่นรอบข้าง, ทั้งนี้ก็เพราะเรื่องทัศนคตินี่มันเปลี่ยนแปลงไม่ได้ง่ายๆเมื่อโตแล้ว ดังนั้นเขาถึงได้บอกกันว่า"ไม้อ่อนดัดง่าย"...
เรื่องหลายเรื่องที่ควายชงโคมีปัญหาแต่ตัวเองไม่รู้ตัว ก็เพราะ"ไม้บรรทัด"ที่ควายชงโคเอามาจับว่าอย่างไรถูกอย่างไรผิดมันถูกปลูกฝังและเติบโตมาในบ้านที่มีสังคมควายๆ... เรื่องแรกที่มีปัญหาคือกระบวนการเรียนรู้ของควายชงโคติ้นเขิน ชอบอวดอ้างตนว่าเป็นผู้รู้ในทุกเรื่องทุกกระทู้ที่ตนเองเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย, เอาตัวอย่างเช่นเรื่อง Glock เรื่องออกกำลังกาย(ยกเวท) เรื่องอาวุธสงคราม เรื่องการดำเนินนโยบายต่างประเทศ เรื่องหุ้น และเรื่องล่าสุดนี่ก็เรื่องดาบ โชว์ความตื้นเขินได้ถึงขนาดตั้งตนเป็น"ครูดาบ"จะสอนดาบให้ผู้อื่น!!!...
เรื่องละเอียดทำนองนี้มันสอนกันได้เฉพาะคนในครอบครัวเท่านั้น คนนอกครอบครัวสอนกันไม่ได้ หากคนนอกครอบครัวไปบอกว่าอย่างนั้นถูกอย่างนี้ผิด ก็จะโดนต่อต้านและไม่พอใจ... โดยเฉพาะเรื่องเหยียด/ดูถูกเพศหญิงเสียจนกระทั่งเอามาเป็นประเด็นดูถูกผู้อื่นนี่ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ต้องคนในครอบครัวสอนกันมาเท่านั้น คนอื่นสอนไม่ได้ เพราะต้องอาศัยเวลาอบรมบ่มเพาะ และเรียนรู้จากพฤติกรรมจริงตามเวลาที่ผ่านไปด้วย...
ตัวอย่างเช่นเช่น"การตีความ"การให้เกียรติสตรีคือการกระทำเช่นไรบ้าง ไม่ใช่แค่พูดว่า"ฉันให้เกียรติ"แต่พฤติกรรมอื่นไม่สอดคล้อง เช่นพฤติกรรมบนโต๊ะอาหาร พฤติกรรมการช่วยงานบ้าน พฤติกรรมการพูดการจาให้เกียรติ พฤติกรรมเคารพการตัดสินใจ ฯลฯ คือทุกอย่างต้องสอดคล้องกันว่าให้เกียรติ... พูดแบบบ้านๆ ก็คือต้องทำเป็นกิจวัตรให้ลูกมันเห็น เพราะลูกมันเห็นอะไรในช่วงเวลาที่มันเติบโตขึ้นมา มันก็จะจำเอาไว้แบบนั้นฝังเอาไว้ในใจจนตาย(เปลี่ยนทัศนคติยาก)...
มีกรณีเดียวซึ่งไม่รู้ว่าเป็นเช่นนั้นหรือไม่ เช่น"ผู้หญิงคนนั้น"มีพฤติกรรมต่ำช้า หยาบหนา เป็นคนชั่ว เป็นคนเลว เลวเสียจนกระทั่งต้องถูกขับไล่ไปให้พ้นบ้าน!!! แต่บังเอิญมันเป็นแม่ของลูกขับไล่ไปเสียให้พ้นไม่ได้ เลยต้องกดมันเอาไว้ไม่ให้หืออือ เพราะมันจะสร้างเรื่องยุ่งยากแก่ครอบครัว... อย่างนี้ต้องโทษคนที่มันเลือกเอาหญิงนี้มาเป็นแม่ของลูกด้วย ว่าไม่รู้จักดูให้ดีเสียก่อน...
เรื่องมงคล 38 ประการนั้นมีอยู่หนึ่งข้อ ให้หลีกเลี่ยงคนพาล แล้วกรณีที่คนพาลมันรุกรานไม่ยอมไป ก็จำเป็นต้องขับไล่หรือปรามมันเสียไม่ให้มันสร้างอันตรายฯ, เรื่องแบบนี้ปรากฎในพุทธประวัติหลายครั้ง หากนึกไม่ออกก็ลองค้นประวัติพระปางมารวิชัยดู จะพบว่ามารโดนน้ำท่วมตาย... สำหรับนายชงควายนี่ อันตรายเกิดจากความตื้นเขินในองค์ความรู้ แต่สำคัญตนผิดคิดว่าตนเองรู้เรื่อง แล้วมักไม่ยอมรับฟังผู้อื่น จ้องแต่จะเถียงเพื่อเอาชนะแบบข้างๆคูๆ แล้วในที่สุดก็จะลากผู้คนที่เข้ามาอ่านแสวงความรู้ให้เป๋ฯ, และอาจทำให้ผู้อื่นที่มีความรู้ไม่อยากเข้ามาสนทนาด้วย(ควายชงโคจะขับไล่บัณฑิต)...
ควายชงโคอ่านให้ดี แล้วจะรู้ว่านี่คือคำตอบว่าทำไมควายชงโคจึงน่ารังเกีจ และโดนรุมด่าข้ามปี... คนอื่นเขาคร้านจะเข้ามาบอก เพราะไม่อยากโดนพันแข้งพันขา...