จริงๆตัวเลขมันก็ไม่ใช่ความลับอะไรครับ แต่ก็ไม่เหมาะสมที่จะมาเปิดเผยในที่สาธารณะ แค่ยอดกู้บ้านที่อยู่อาศัย ก็เป็นหลักหมื่นรายแล้วครับ
ส่วนเรื่องที่บอกว่า ลูกค้าวงเงินไม่สูง ความเสี่ยงน้อย อันนี้ถ้าจะบอกว่าเป็นความคิดเห็นส่วนตัวก็ไม่ผิดครับ
แต่ในbusiness ของ ธ. มันไม่มีคำนี้ครับ ธ. ทั่วโลกไม่เคยบริหารความเสี่ยงโดยอิงกับยอดหนี้ จะกู้มากกู้น้อย ก็เห็นต้องใช้หลักประกันในสัดส่วนที่เท่าๆกันทั้งนั้น ถ้าเสี่ยงน้อยกว่าจริง เราคงตัวเปล่า เดินไปกู้ซัก 1000 ได้แล้วหละครับ ที่เราเห็นว่าเค้าเน้นลูกค้ารายย่อยเยอะไม่ใช่ความเสี่ยงต่ำอย่างที่ยายว่า แต่เป็นเพราะ ธ. ต้องการcash flow ที่ต่อเนื่องและหลากหลาย เพราะ กำไรของ ธ .มาจากส่วนต่างดอกเบี้ย ต้องบริหารอัตราส่วน maturity (วันหมดอายุของสัญญา)ของทั้งฝั่งรายได้(หลักเงินกู้) และต้นทุน(เงินฟาก) ให้เหมาะสม
ส่วนที่บอกว่าการถอนเงิน(สด) แค่ 3หมื่นล้าน ไม่กระทบกับ ธ. หรอก เพราะธนาคารมีเป็นหลักล้านๆ อันนั้นก็คือความคิดเห็นของคนนอกวงการ การเงิน การธนาคารครับ อย่าลืมว่ายอดเงินส่วนใหญ่เป็นแค่ตัวเลข เงินที่เป็นphysical จริงมีน้อยกว่ามาก ลองไปหาดู regulation ของ ธ. ที่เกี่ยวข้องกับการถือครองเงินสดดูครับ อธิบายไม่หมดครับ ยาว แล้วจะรู้ว่า ถ้าเป็นแบบนี้ ซัก 2 อาทิตย์ ธนาคารมีสิทธิเลิกกิจการได้เลย
5555 พี่ T 5 อ่ะ ฮา
คุยแบบนี้ ได้ความรู้ เป็นการ "ลับ สมอง" ดีอ่ะ ฮา
เอ้ายายถาม ไอ้เงิน "สอง สาม สี่ หมื่นล้าน" เนี่ยะ ฮา
ถ้ามันหายไปจาก ออมสิน แล้ว มันจะไป "โผล่" ที่ไหน อ่ะ ฮา
มันก็วนอยู่ใน วงจร สถาบันการเงิน นั่นแหละ
ไม่โผล่ที่ BBL TFB KTB หรือ SCB มันก็ต้องโผล่สักที่นึงอ่ะ ฮา
เงินเยอะแยะ ขนาดนั้น ไม่มีใครเก็บ เอาไว้ที่บ้านร๊อกส์ อ่ะ ฮา
มันก็เหมือนกับ "ลูกโป่ง" แหละ พอกดตรงนี้ ก็บวมตรงข้าม อ่ะ ฮา
เงินมันไม่ได้ "หาย" ไปจากระบบ อ่ะ ฮา
เงินมันยัง "หมุนเวียน" อยู่ในระบบ
ถามว่า สถาบันการเงิน " หยิบ " เอามาใช้ได้มั๊ย ได้อ่ะ ฮา
เหตุการณ์ " อุปทาน หมู่" ครั้งนี้
มันไม่ได้มีที่มา ที่ไป เหมือนอย่าง ที่ BBL เคยเกิด หรอกอ่ะ ฮา
ตอนนั้น "ป๋า" ในฐานะ ประธาน ต้อง เทคแอกชั่น อ่ะ ฮา
มันไม่เหมือนกับ การที่ "เงินบาท ไหลออก"
ตอนที่ต่างประเทศ ขาดความเชือมั่น อ่ะ ฮา 555
5555 ยายบอกเลย "จำนวนคน" ที่แห่ไปถอน เมื่อวาน
มัน " Peak " สุดๆแล้ว อ่ะ ฮา
วันนี้ ไม่ได้เยอะ ไม่ได้แยะ หรอกอ่ะ ฮา
5555 เย็นนี้ เรามาคอย "ตัวเลข" กันอ่ะ ว่าเท่าไหร่ ฮา
คนละเรื่องกันครับ ถ้าไม่มีข้อกำหนดต่างๆมาควบคุม ธ. จะไม่มีปัญหาใดๆครับ
แต่ทีนี้ ธ.ป.ท. กำหนดไว้ว่า ธ.ต้องมี liquid asset ไม่ต่ำกว่า 6% ของเงินฟาก(basel tier 1 ซึ่งก็คือประมาณ 1แสนล้านกว่าๆ ซึ่งธ.ทุกแห่งก็ไม่ได้มี asset กลุ่มนี้เกินกว่าขั้นต่ำที่กำหนดกันไปซักเท่าไหร่
ที่นี่ asset กลุ่มที่ว่าหลักๆก็คือ เงิืน(สดๆ) ,หุ้น,พันธบัตร โดยทั่วไป ธ. จะมีเงินสดกระจายไปตามแต่ละสาขา ประมาณ 3% ของยอดเงินฟาก ซึ่งก็คือ 5หมื่นกว่าล้าน อย่างเหตุการผ่านมา ถ้าเกิดขึ้นต่อเนื่อง ธ.ก็จำเป็นต้องขาย asset ต่างๆทิ้งทันที ที่นี้ปัญหาก็คงมองเห็นได้ง่ายๆ ยกตัวอย่างเช่น หุ้น ด้วย volumnที่สูงขายตัวไหน ก็เหมือนกับทุบไปโดยไม่ได้ตั้งใจ
แล้วการที่จะไปหยิบยืมจากธนาคารอื่น มันไม่ได้ง่ายอย่างที่คิดกันครับ ทั้งด้วยต้นทุนที่สูงขึ้น,maturity ที่ไปสมดุล จะทำให้การเดินดำเนินงานของ ธ.มีปัญหา ส่วนถ้าหาasset tier 1ไม่ได้จะเกิดอะไรขึ้น? แนะนำให้ลองไปค้น คำว่า deleverage ดูครับ ผมไม่ได้มีความรู้ด้านนี้ลึกซึ่ง ไม่อยากให้ข้อมูลผิดๆ