เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
ตุลาคม 15, 2024, 07:24:10 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เว็บบอร์ด อวป. สามารถเข้าได้ทั้งสองทาง คือ www.gunsandgames.com และ www.gunsandgames.net ครับ
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 [2]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: เก็บลูกปืนยังไงดีครับ  (อ่าน 3512 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 4 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
ทัดมาลา ขอเป็นข้ารองพระบาททุกชาติไป
มืออ่อน หมัดแข็ง
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 857
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6569


เตสาหัง สิรสา ปาเท วันทามิ ปุริสุตตเม


« ตอบ #15 เมื่อ: มกราคม 14, 2007, 02:32:47 AM »

ค่อยๆอบให้ความร้อนช้าๆ ครับเพื่อไล่น้ำออกไป ส่วนเรื่องแกะจากถุงนั้น ก็อาจทำได้ครับ เท่าที่เห็ฯคือพวกทำดอกไม้แห้ง จะใส่สารให้ท่วมครับ  แต่ถ้าใช้กับกระสุน น่าจะมีปัญหาเรื่องกระจัดกระจาย และถ้ามีผิวสัมผัสกับโลหะ ก็มีโอกาสที่สารดูดความชื้นจะคายความชื้นกลับออกมาได้ ยกเว้นว่าเป็นสารใหม่และมีการเปลี่ยนในเวลาที่เหมาะสม เพราะถ้าอุณภูมิบริเวณนั้นสูง และสารอุ้มน้ำไว้จนใกล้อิ่มตัว น้ำจะระเหยกลับออกมา  ทางที่ดีใส่ซองวางไว้ข้างๆก็พอแล้วครับ นานๆทีก็นำไปอบไล่ความชื้นสักครัง


จาก http://www.dud-d.com/type.htm ลองอ่านดูคร่าวๆครับ

ชนิดของสารดูดความชื้น

สารดูดความชื้นมีทั้งหมด 4 ประเภทดังนี้

1. ซิลิก้า เจล (Silica Gel)
ซิลิก้าเจลคือ สารสังเคราะห์ที่สกัดจากทรายขาวผสมกรดกำมะถันมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า ซิลิกอน ไดออกไซด์ (Silicon Dioxide)
มีลักษณะเป็นเม็ดกลม โดยทั่วไป ซิลิก้าเจล จะมีลักษะณะเป็นโพรงมีรูพรุนทำให้มีพื้นผิวที่ใช้ในการดูดความชื้นเป็นจำนวนมาก
ประมาณ 800 ตารางเมตรต่อน้ำหนัก 1 กรัม หรือประมาณ 40 % ของน้ำหนักตัวเอง


ซิลิก้าเจล (Silica Gel) มี 3 ชนิดคือ

ชนิดเม็ดใส มีคุณสมบัติในการดูดความชื้นตามที่กล่าวมาตอนต้น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางแต่ละเม็ดประมาณ 2-5 มิลลิเมตร

ชนิดเม็ดสีน้ำเงิน มีคุณสมบัติในการดูดความชื้นเหมือนกับเม็ดใสทุกประการ เพียงแต่มีการเพิ่มสารชนิดพิเศษเพื่อตรวจวัด
ปริมาณความชื้นที่กักเก็บไว้ ทำให้ผู้ใช้รู้ว่ามีการเก็บความชื้นไว้ในปริมาณเท่าไร โดยจะแสดงเป็นสีน้ำเงินและสีชมพู
หากเม็ดที่แสดงเป็นสีน้ำเงิน หมายความว่า สารดูดความชื้นนั้นยังไม่ได้ใช้งานหรือแสดงว่ายังสามารถใช้งานได้ ส่วนเม็ด
ที่เป็นสีชมพูหรือสีม่วงอ่อน แสดงว่าหมดอายุในการใช้งาน ควรเปลี่ยน สารดูดความชื้นใหม่

ชนิดเม็ดทราย(Silica Sand) มีคุณสมบัติในการดูดความชื้นเหมือนกับเม็ดใสทุกประการแตกต่างกันที่ ขนาดของเม็ดของสารดูด
ซึ่งสารดูดความชื้น ชนิดเม็ดทราย มีขนาดเล็กกว่า ชนิดเม็ดใส


2. เพาเวอร์ ดราย (Power Dry)
ผลิตจากดินไดอะตอมเมเชียล เอิธ์ท (ดินเบา) มีลักษณะคล้ายกรวดขนาดเล็กสีเทา หรือสีน้ำตาล ผ่านกระบวนการผลิตอย่าง
พิถีพิถัน จึงทำให้ ดิน Power Dry มีประสิทธิภาพในการดูดความชื้นได้สูงกว่า ซิลิก้าเจล เนื่องดิน Power Dry เป็นสารจาก
ธรรมชาติ จึงไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ภายในอนูของดิน Power Dry มีรูพรุนนับล้าน ๆ รู ทำให้มีประสิทธิภาพ
ในการดูดซับ และเก็บกักน้ำ ไว้ได้มากกว่า มีประสิทธิภาพ ในการดูดความชื้นได้ ประมาณ 50 % ของน้ำหนักตัวเอง
มีความเร็วในการดูดและคายความชื้นต่ำกว่าซิลิก้าเจล ทำให้ ดิน Power Dry เหมาะสำหรับใช้ในงานที่ต้องใช้ระยะเวลา นาน ๆ
เช่นการส่งสินค้าระหว่างประเทศ

3. อีโค ดราย ( Eco Dry )
ผลิตจากดินธรรมชาติชนิดหนึ่งที่มีรูพรุน ผ่านกระบวนการผลิต ทำให้สามารถดูดความชื้นได้ดี และต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ
การดูดความชื้น สูงกว่า ซิลิก้าเจล จุดเด่นของ สารดูดความชื้นชนิดนี้ คือ การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่เป็นตราย ต่อมนุษย์
สามารถดูดความชื้นได้ประมาณ 50 % ของน้ำหนักตัวเอง สารดูดความชื้นชนิดนี้ จึงเป็นที่นิยนกันแพร่หลายเกือบทุก อุตสาหกรรม
เช่น อาหาร ยา ข้าว ชา แกแฟ ตู้คอนเทนเนอร์ อุปกรณ์ อิเล็คทรอนิค คอมพิวเตอร์ หม้อแปลงไฟฟ้า ชิ้นส่วนยายยนต์ต่าง ๆ
อุตสาหกรรมเหล็ก ไม้ และ อื่น ๆที่ต้องการให้ สินค้า ปราศจาก ความชื้น

4. สารดูดความชื้นชนิดอื่น ๆ ที่มีประสิทธิภาพในการดูดความชื้นน้อยกว่า 30 %

แคลเซี่ยมอ๊อกไซด์

เป็นสารดูดความชื้นที่ผลิตจากหินปูนที่มีคุณสมบัติในการดูดความชื้นได้มากกว่า 28.5 % ของน้ำหนักตัวเอง มีลักษณะเป็นผงสีขาว
สารชนิดนี้มีคุณสมบัติเด่นในการดูดความชื้นได้ดีในพื้นที่ที่มีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ ข้อด้อยของสารชนิดนี้คือระยะเวลาที่ใช้ในการ
ดูดความชื้นช้า เมื่อเปรียบเทียบกับสารชนิดอื่น ๆ และเมื่อมีการดูดความชื้นจนอิ่มตัว จะมีสภาพเป็นสารกึ่งเหลว

แคลเซียม ซัลเฟต (Calcium Sulfate, CaSo4) เป็นสาร ที่ได้จากแร่ยิปซั่ม โดยมีคุณสมบัติ ในการดูดความชื้น ค่อนข้างต่ำประมาณ
10% ของน้ำหนักตัวเอง เป็นสารที่ คงสถานะได้ดี ไม่เป็นพิษ และ ไม่กัดกร่อน

โมเลกุลลาร์ ซีฟ (Molecular Sieve) หรือ ที่เรียกว่า Synthetic Zeolite เป็นสารสังเคราะห์ ที่มีคุณสมบัติในการดูดความชื้น ที่ดีมากๆ
ภายใต้ ความชื้นสัมพัทธ์ รอบข้าง ในระดับต่ำ (10%-30%) โดยมีประสิทธิภาพ ในการดูดความชื้น ประมาณ 22% ของน้ำหนักตัวเอง
โครงสร้างพิเศษ ทำให้โมเลกุลลาร์ ซีฟ มีพื้นผิวสัมผัส ประมาณ 7-800 ตารางเมตร ต่อ 1 กรัม และ มีแรงดึงดูดความชื้น ที่สูงมาก
ข้อดีดังกล่าว ทำให้ปัญหา การคายความชื้น น้อยกว่าซิลิกา เจล และ มอนต์โมริลโลไนต์ เคลย์ เมื่ออุณหภูมิรอบข้างสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม
โมเลกุลลาร์ ซีฟ ยังไม่ได้รับ การรับรอง จากหน่วยงาน ของรัฐ ในการใช้งาน กับ อาหารและยา จึงทำให้สารชนิดนี้ ยังไม่แพร่หลายมากนัก

แคลเซียม ออกไซด์ (Calcium Oxide, CaO) หรือที่เรียกว่า Caustic Lime / Quick Lime เป็นสารที่มีคุณสมบัติ ในการดูดความชื้น
ได้มากกว่า 28.5% ของน้ำหนัก ตัวเอง สารชนิดนี้ มีคุณสมบัติเด่น ในการดูดความชื้น ที่ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ และ มีอัตราการคาย
ความชื้นที่ต่ำ เช่นเดียวกับ โมเลกุลลาร์ ซีฟ อย่างไรก็ตาม ความเร็ว ในการดูดความชื้น ค่อนข้างช้า เมื่อเทียบกับ สารชนิดอื่นๆ
และ จะกลายเป็น สารกึ่งเหลว (swell) เมื่อดูดความชื้น จนกระทั่งอิ่มตัว สารดูดความชื้นประเภทนี้ มีคุณสมบัติในการกัดกร่อนสูง
(corrosive) ดังนั้น บรรจุภัณฑ์ของ สารดูดความชื้น ประเภทนี้ ต้องป้องกันไม่ให้สารดูดความชื้น หลุดรอดออกมาได้โดยเด็ดขาด



บันทึกการเข้า

บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ ปกบ้านป้องเมืองคุ้มเหย้า
เสียเลือดเสียเนื้อมิใช่เบา หน้าที่เรารักษาสืบไป
      
ลูกหลานเหลนโหลนภายหน้า จะได้มีพสุธาอาศัย
อนาคตจะต้องมีประเทศไทย มิยอมให้ผู้ใดมาทำลาย
Zeus-รักในหลวง
อะฮู้.....ไฮยีน่าก็เป็นแมวนะคราบบบ
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 817
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10983


I'm going to make him an offer that he can't refus


« ตอบ #16 เมื่อ: มกราคม 14, 2007, 02:44:52 AM »

ค่อยๆอบให้ความร้อนช้าๆ ครับเพื่อไล่น้ำออกไป ส่วนเรื่องแกะจากถุงนั้น ก็อาจทำได้ครับ เท่าที่เห็ฯคือพวกทำดอกไม้แห้ง จะใส่สารให้ท่วมครับ แต่ถ้าใช้กับกระสุน น่าจะมีปัญหาเรื่องกระจัดกระจาย และถ้ามีผิวสัมผัสกับโลหะ ก็มีโอกาสที่สารดูดความชื้นจะคายความชื้นกลับออกมาได้ ยกเว้นว่าเป็นสารใหม่และมีการเปลี่ยนในเวลาที่เหมาะสม เพราะถ้าอุณภูมิบริเวณนั้นสูง และสารอุ้มน้ำไว้จนใกล้อิ่มตัว น้ำจะระเหยกลับออกมา ทางที่ดีใส่ซองวางไว้ข้างๆก็พอแล้วครับ นานๆทีก็นำไปอบไล่ความชื้นสักครัง


จาก http://www.dud-d.com/type.htm ลองอ่านดูคร่าวๆครับ

ชนิดของสารดูดความชื้น

สารดูดความชื้นมีทั้งหมด 4 ประเภทดังนี้

1. ซิลิก้า เจล (Silica Gel)
ซิลิก้าเจลคือ สารสังเคราะห์ที่สกัดจากทรายขาวผสมกรดกำมะถันมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า ซิลิกอน ไดออกไซด์ (Silicon Dioxide)
มีลักษณะเป็นเม็ดกลม โดยทั่วไป ซิลิก้าเจล จะมีลักษะณะเป็นโพรงมีรูพรุนทำให้มีพื้นผิวที่ใช้ในการดูดความชื้นเป็นจำนวนมาก
ประมาณ 800 ตารางเมตรต่อน้ำหนัก 1 กรัม หรือประมาณ 40 % ของน้ำหนักตัวเอง


ซิลิก้าเจล (Silica Gel) มี 3 ชนิดคือ

ชนิดเม็ดใส มีคุณสมบัติในการดูดความชื้นตามที่กล่าวมาตอนต้น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางแต่ละเม็ดประมาณ 2-5 มิลลิเมตร

ชนิดเม็ดสีน้ำเงิน มีคุณสมบัติในการดูดความชื้นเหมือนกับเม็ดใสทุกประการ เพียงแต่มีการเพิ่มสารชนิดพิเศษเพื่อตรวจวัด
ปริมาณความชื้นที่กักเก็บไว้ ทำให้ผู้ใช้รู้ว่ามีการเก็บความชื้นไว้ในปริมาณเท่าไร โดยจะแสดงเป็นสีน้ำเงินและสีชมพู
หากเม็ดที่แสดงเป็นสีน้ำเงิน หมายความว่า สารดูดความชื้นนั้นยังไม่ได้ใช้งานหรือแสดงว่ายังสามารถใช้งานได้ ส่วนเม็ด
ที่เป็นสีชมพูหรือสีม่วงอ่อน แสดงว่าหมดอายุในการใช้งาน ควรเปลี่ยน สารดูดความชื้นใหม่

ชนิดเม็ดทราย(Silica Sand) มีคุณสมบัติในการดูดความชื้นเหมือนกับเม็ดใสทุกประการแตกต่างกันที่ ขนาดของเม็ดของสารดูด
ซึ่งสารดูดความชื้น ชนิดเม็ดทราย มีขนาดเล็กกว่า ชนิดเม็ดใส


2. เพาเวอร์ ดราย (Power Dry)
ผลิตจากดินไดอะตอมเมเชียล เอิธ์ท (ดินเบา) มีลักษณะคล้ายกรวดขนาดเล็กสีเทา หรือสีน้ำตาล ผ่านกระบวนการผลิตอย่าง
พิถีพิถัน จึงทำให้ ดิน Power Dry มีประสิทธิภาพในการดูดความชื้นได้สูงกว่า ซิลิก้าเจล เนื่องดิน Power Dry เป็นสารจาก
ธรรมชาติ จึงไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ภายในอนูของดิน Power Dry มีรูพรุนนับล้าน ๆ รู ทำให้มีประสิทธิภาพ
ในการดูดซับ และเก็บกักน้ำ ไว้ได้มากกว่า มีประสิทธิภาพ ในการดูดความชื้นได้ ประมาณ 50 % ของน้ำหนักตัวเอง
มีความเร็วในการดูดและคายความชื้นต่ำกว่าซิลิก้าเจล ทำให้ ดิน Power Dry เหมาะสำหรับใช้ในงานที่ต้องใช้ระยะเวลา นาน ๆ
เช่นการส่งสินค้าระหว่างประเทศ

3. อีโค ดราย ( Eco Dry )
ผลิตจากดินธรรมชาติชนิดหนึ่งที่มีรูพรุน ผ่านกระบวนการผลิต ทำให้สามารถดูดความชื้นได้ดี และต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ
การดูดความชื้น สูงกว่า ซิลิก้าเจล จุดเด่นของ สารดูดความชื้นชนิดนี้ คือ การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่เป็นตราย ต่อมนุษย์
สามารถดูดความชื้นได้ประมาณ 50 % ของน้ำหนักตัวเอง สารดูดความชื้นชนิดนี้ จึงเป็นที่นิยนกันแพร่หลายเกือบทุก อุตสาหกรรม
เช่น อาหาร ยา ข้าว ชา แกแฟ ตู้คอนเทนเนอร์ อุปกรณ์ อิเล็คทรอนิค คอมพิวเตอร์ หม้อแปลงไฟฟ้า ชิ้นส่วนยายยนต์ต่าง ๆ
อุตสาหกรรมเหล็ก ไม้ และ อื่น ๆที่ต้องการให้ สินค้า ปราศจาก ความชื้น

4. สารดูดความชื้นชนิดอื่น ๆ ที่มีประสิทธิภาพในการดูดความชื้นน้อยกว่า 30 %

แคลเซี่ยมอ๊อกไซด์

เป็นสารดูดความชื้นที่ผลิตจากหินปูนที่มีคุณสมบัติในการดูดความชื้นได้มากกว่า 28.5 % ของน้ำหนักตัวเอง มีลักษณะเป็นผงสีขาว
สารชนิดนี้มีคุณสมบัติเด่นในการดูดความชื้นได้ดีในพื้นที่ที่มีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ ข้อด้อยของสารชนิดนี้คือระยะเวลาที่ใช้ในการ
ดูดความชื้นช้า เมื่อเปรียบเทียบกับสารชนิดอื่น ๆ และเมื่อมีการดูดความชื้นจนอิ่มตัว จะมีสภาพเป็นสารกึ่งเหลว

แคลเซียม ซัลเฟต (Calcium Sulfate, CaSo4) เป็นสาร ที่ได้จากแร่ยิปซั่ม โดยมีคุณสมบัติ ในการดูดความชื้น ค่อนข้างต่ำประมาณ
10% ของน้ำหนักตัวเอง เป็นสารที่ คงสถานะได้ดี ไม่เป็นพิษ และ ไม่กัดกร่อน

โมเลกุลลาร์ ซีฟ (Molecular Sieve) หรือ ที่เรียกว่า Synthetic Zeolite เป็นสารสังเคราะห์ ที่มีคุณสมบัติในการดูดความชื้น ที่ดีมากๆ
ภายใต้ ความชื้นสัมพัทธ์ รอบข้าง ในระดับต่ำ (10%-30%) โดยมีประสิทธิภาพ ในการดูดความชื้น ประมาณ 22% ของน้ำหนักตัวเอง
โครงสร้างพิเศษ ทำให้โมเลกุลลาร์ ซีฟ มีพื้นผิวสัมผัส ประมาณ 7-800 ตารางเมตร ต่อ 1 กรัม และ มีแรงดึงดูดความชื้น ที่สูงมาก
ข้อดีดังกล่าว ทำให้ปัญหา การคายความชื้น น้อยกว่าซิลิกา เจล และ มอนต์โมริลโลไนต์ เคลย์ เมื่ออุณหภูมิรอบข้างสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม
โมเลกุลลาร์ ซีฟ ยังไม่ได้รับ การรับรอง จากหน่วยงาน ของรัฐ ในการใช้งาน กับ อาหารและยา จึงทำให้สารชนิดนี้ ยังไม่แพร่หลายมากนัก

แคลเซียม ออกไซด์ (Calcium Oxide, CaO) หรือที่เรียกว่า Caustic Lime / Quick Lime เป็นสารที่มีคุณสมบัติ ในการดูดความชื้น
ได้มากกว่า 28.5% ของน้ำหนัก ตัวเอง สารชนิดนี้ มีคุณสมบัติเด่น ในการดูดความชื้น ที่ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ และ มีอัตราการคาย
ความชื้นที่ต่ำ เช่นเดียวกับ โมเลกุลลาร์ ซีฟ อย่างไรก็ตาม ความเร็ว ในการดูดความชื้น ค่อนข้างช้า เมื่อเทียบกับ สารชนิดอื่นๆ
และ จะกลายเป็น สารกึ่งเหลว (swell) เมื่อดูดความชื้น จนกระทั่งอิ่มตัว สารดูดความชื้นประเภทนี้ มีคุณสมบัติในการกัดกร่อนสูง
(corrosive) ดังนั้น บรรจุภัณฑ์ของ สารดูดความชื้น ประเภทนี้ ต้องป้องกันไม่ให้สารดูดความชื้น หลุดรอดออกมาได้โดยเด็ดขาด




ขอบคุณครับ และต้องรีบเตือนเพราะเขาเอาสารดูดความชื่นไปใช้ร่วมกับการเก็บพระ(ล่าสุดเอาไปใส่พระผง และพระเนื้อตะกั่วขึ้นสนิมแดง)............มีหวั่งถ้ามันคายความชื่นกลับมาละ อิ๋บอ่ายแน่ ๆ ครับ
บันทึกการเข้า

“A fear of weapons is a sign of retarded sexual and
emotional maturity.”
- Sigmund Freud

“ความกลัวอาวุธคือสัญญาณของความถดถอยทางเพศและวุฒิภาวะทางอารมณ์”
- ซิกมุนด์ ฟรอยด์
ขี้เมา เล่นปืน
ชีวิตไม่เที่ยง พอเพียงก็ได้
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 11
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 162


คุยไม่รู้เรื่องก็อย่าไปคุย


« ตอบ #17 เมื่อ: มกราคม 17, 2007, 07:14:51 PM »

ใช้ยาทาเล็บทาที่ท้ายลูกปืนบางๆตรงจอกแก๊ป สีแดงก็ดีชัดเจนครับ
บันทึกการเข้า

จงดีกับคนที่ดี
โทน73 -รักในหลวง-
มือปืนกาวช้าง
Hero Member
*****

คะแนน 586
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 8574


« ตอบ #18 เมื่อ: มกราคม 17, 2007, 07:47:26 PM »

ผมฝากเขาเก็บครับ ฝากไว้แถวๆหลังวัง  แล้วค่อยทะยอยไปเบิกมาที่ละ กล่อง ครึ่งกล่อง ... Grin
บันทึกการเข้า

....ตามล่า...อีตอแหล
สตางค์
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 134
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2564



เว็บไซต์
« ตอบ #19 เมื่อ: มกราคม 17, 2007, 08:04:04 PM »

ผมเอาใส่ตู้ดูดความชื้นความคุมอัตโนมัตแบบที่เอาไว้เก็บกล้องถ่ายรูปครับ ควบคุมความชื้นไว้ที่ 40-45% แต่ก็ยังไม่รู้เหมือนกันว่าจะเก็บเอ้าไว้ได้นานขนาดไหนเพราะเอามายิงหมดก่อนทุกที Grin
บันทึกการเข้า



" มือปืนพ่อลูกอ่อน "
makarms
เมื่อเป้าเคลื่อนไหว สับไกทันที
Hero Member
*****

คะแนน 286
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 4441


อัพเดททุกลมหายใจ


« ตอบ #20 เมื่อ: มกราคม 17, 2007, 08:20:33 PM »

ใช้ยาทาเล็บทาที่ท้ายลูกปืนบางๆตรงจอกแก๊ป สีแดงก็ดีชัดเจนครับ
เหมือนกันเลยครับ Grin Grin
บันทึกการเข้า

มิตรภาพนั้นเกิดขึ้นง่าย แต่การรักษาไว้กลับยากยิ่ง......
(จงอย่าแสวงหาความสุข บนความทุกข์ของผู้อื่น
จงเติมน้ำใจสักนิดเพื่อเป็นมิตรที่ถาวร..........)
Ro@d - รักในหลวง
รักเธอ.. ประเทศไทย
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 4088
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 20186


1 คัน 1 ชีวิตที่อิสระ มี G23 กาแฟอีก 1 เป็นเพื่อน


« ตอบ #21 เมื่อ: มกราคม 17, 2007, 08:37:35 PM »

Smiley.. ของผมง่าย ง่ายครับ.
      ขวดน้ำพลาสติก ที่ใช้แล้วทิ้ง. หรือขวดนม เลือกเอาอย่างที่หนา

      เทกระสุนขวดละ ๕๐ นัด  แล้วปิดปากขวด ..
      เวลาจะใช้ ก็จับโยน ใส่ท้ายรถ..  Grin
 
      เก็บกระสุนให้พ้นจากน้ำมัน ทุกชนิด ..
      กระสุนปืนสั้น ลูกจริง  ตั้งแต่ยิงมาตั้งแต่นัดแรก จนบัดเดี๋ยวนี้  Grin
      ไม่เคยด้านสักนัด
      เว้นแต่ .๓๘ หัวตะกั่ว.. เคย ๒-๓ นัด  ครับ.  Smiley

     
บันทึกการเข้า

นาจา™รักในหลวง
คุณธรรม...นำสู่ยุติธรรม
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 268
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 11147



เว็บไซต์
« ตอบ #22 เมื่อ: มกราคม 17, 2007, 08:48:35 PM »

....ใช้...ไม่ค่อยเหลือเก็บครับ.... Grin

ที่มีอยู่ลังสองลัง ก็เก็บอุณหภูมิปกติแหล่ะครับ
หากนานหน่อยก็ใช้ถุงกันชื้นใส่ไว้หน่อย....แต่ไม่นาน หมดซะก่อน Grin
บันทึกการเข้า

อยากสูงต้องเขย่ง อยากเก่งต้องขยัน
หน้า: 1 [2]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.093 วินาที กับ 22 คำสั่ง