เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
พฤศจิกายน 29, 2024, 09:43:06 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 [2]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: โครงอัลลอยด์ / โพลิเมอร์แบบใดกำเนิดก่อนกันครับ  (อ่าน 5305 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 2 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Mango
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 13
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 352


"รักษาความไม่ประมาทเสมอชีวิต"


« ตอบ #15 เมื่อ: มกราคม 23, 2007, 12:52:33 AM »

ไม่ทราบว่านำ้มันที่ใช้ทาโพลิเมอร์นั้นเป็นนำ้มันประเภทไหนครับ
บันทึกการเข้า
mETEr
จงภูมิใจเถิด ที่เกิดเป็นไทย
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1051


รักเธอ ประเทศไทย


« ตอบ #16 เมื่อ: มกราคม 23, 2007, 08:27:34 AM »

ไม่ทราบว่านำ้มันที่ใช้ทาโพลิเมอร์นั้นเป็นนำ้มันประเภทไหนครับ

อยากทราบด้วยครับ
บันทึกการเข้า

เกิดมา ต้องตอบแทนคุณแผ่นดิน
chai05
จงก้าวเดินไปข้างหน้า อย่าถอยหลัง
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 5
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 405

สวัสดีครับ


« ตอบ #17 เมื่อ: มกราคม 23, 2007, 08:34:39 AM »

อัลลอยด์ครับ
บันทึกการเข้า

จงทำดี  ประพฤติดี  อย่าใจร้อน  สูดลมหายใจเข้าลึกๆ  ค่อยๆผ่อนออก  ตามองไกล  มือต้องนิ่ง
S.W.A.T
Hero Member
*****

คะแนน 6
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1023

Ceska Zbrojovka


« ตอบ #18 เมื่อ: มกราคม 23, 2007, 09:13:33 AM »

สรุปก็คือ  โพลิเมอร์   ให้ระวัง ไฟ สัตว์ -
              อัลลอย     ให้ระวัง  สารที่เป็นกรด
เท่านี้ก็ใช้หายห่วงใช้ จนลืมโครงปืนไปอีกนาน-

                 
บันทึกการเข้า

อรินทราช 26
อู๋ รักในหลวง
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 143
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1666



« ตอบ #19 เมื่อ: มกราคม 23, 2007, 11:02:49 AM »

แล้วพวกพานท้าย โพลิเมอร์ของเอ็ม16หรือเอชเคล่ะครับ
จริงๆแล้วมันเป็นโพลิเมอร์แบบไหน

หรือพานท้ายลูกซองซินเธติกก็เถอะ
มันต่างจากโพลิเมอร์ยังไง แล้วไฟเบอร์นี่เอามาทำพานท้ายลูกซองได้ไหม

(วุ้ย...เจ้าปัญหาจังเลย..เรา Grin)

m16 ตัวแรก ยุค 70 น่าจะเป็นพวก แบกาไลท์  ยุคนั้นมีแต่ แบกาไลท์   

พานท้ายซินเนติกเป็นเป็นโพลิเมอร์เหมือนกันครับ  แต่น่าจะเป็น พลาสติกพวก  PE  high den 
เข้าใจว่าผสมพวกfiberอยู่ด้วย  ปกติ การฉีดพลาสติกจะฉีดเป็น mass ตันๆ ไม่ได้   ผิวของเนื้อจะยุบเกิด sink mark


การดูแลรักษา ไม่น่าใช้น้ำมันทา   เพราะน้ำมันเป็นตัวทำละลายโพลิเมอร์ 
ถ้าจะทาให้ดูสวยใช้พวก wax ทาเบาะดีกว่า 

บันทึกการเข้า

Life was like a box of chocolate. You never know what You're gonna get.
Don Quixote
Only God delivers the judgement, we only deliver the suspects.
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 987
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 16169


,=,"--- X Santiago... !!


เว็บไซต์
« ตอบ #20 เมื่อ: มกราคม 23, 2007, 12:10:22 PM »

ไม่ทราบว่านำ้มันที่ใช้ทาโพลิเมอร์นั้นเป็นนำ้มันประเภทไหนครับ

เอ ต้องทาด้วยเหรอครับ?
บันทึกการเข้า

Thou shalt have guns.
Thou shalt have tons of ammo.
Thou shalt shoot well.
Thou shalt not rely on help from the stranger.
su 57 - รักในหลวง
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 10
ออฟไลน์

กระทู้: 412



« ตอบ #21 เมื่อ: สิงหาคม 12, 2008, 09:47:15 AM »

ระหว่างโครงเหล็กสแตนเลส กับอัลลอยด์ ที่อเมริกานิยมเลือกใช้โครงอัลลอยด์ครับ
Posted 11 August 2008 08:01 PM 
Physically strong between Mod5906 stainless frame compare with Mod5903 alloy frame what is model better choice

Mean 
  Posts: 14 | Location: Thailand | Registered: 21 April 2008 
 
MattB
Member
  Posted 11 August 2008 08:15 PM  Hide Post
The 5903 will be lighter. Both are excellent firearms so it just comes down to personal choice. For carry a 5903 would probably be a better choice because  of weight
บันทึกการเข้า
putnana
Full Member
***

คะแนน 9
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 122


« ตอบ #22 เมื่อ: สิงหาคม 12, 2008, 12:20:21 PM »

ได้ข่าวว่าปืนบางรุ่นมีชิ้นส่วนที่ทำจากไทเทเนียม (Titanium, Ti)  ไม่รู้ว่ามีปืนตัวไหนใช้ไทเทเนียมทำปืนทั้งกระบอกแล้ว Huh
ใครทราบพอมีข้อมูลช่วยตอบทีครับ Grin
บันทึกการเข้า
มะขิ่น
Hero Member
*****

คะแนน 2453
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 17813


"ทหารแก่ไม่มีวันตาย แต่จะค่อยๆเลือนหายไป"


« ตอบ #23 เมื่อ: สิงหาคม 12, 2008, 04:23:43 PM »

Taurus M85TS
บันทึกการเข้า

อย่าดึงฟ้าต่ำ  อย่าทำหินแตก  อย่าแยกแผ่นดิน
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12903



« ตอบ #24 เมื่อ: สิงหาคม 12, 2008, 04:31:13 PM »

แล้วพวกพานท้าย โพลิเมอร์ของเอ็ม16หรือเอชเคล่ะครับ
จริงๆแล้วมันเป็นโพลิเมอร์แบบไหน

หรือพานท้ายลูกซองซินเธติกก็เถอะ
มันต่างจากโพลิเมอร์ยังไง แล้วไฟเบอร์นี่เอามาทำพานท้ายลูกซองได้ไหม

(วุ้ย...เจ้าปัญหาจังเลย..เรา Grin)

m16 ตัวแรก ยุค 70 น่าจะเป็นพวก แบกาไลท์  ยุคนั้นมีแต่ แบกาไลท์  

พานท้ายซินเนติกเป็นเป็นโพลิเมอร์เหมือนกันครับ  แต่น่าจะเป็น พลาสติกพวก  PE  high den 
เข้าใจว่าผสมพวกfiberอยู่ด้วย  ปกติ การฉีดพลาสติกจะฉีดเป็น mass ตันๆ ไม่ได้   ผิวของเนื้อจะยุบเกิด sink mark


การดูแลรักษา ไม่น่าใช้น้ำมันทา   เพราะน้ำมันเป็นตัวทำละลายโพลิเมอร์ 
ถ้าจะทาให้ดูสวยใช้พวก wax ทาเบาะดีกว่า 

Bakelite (thermosetting phenol formaldehyde resin)   มันมีตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอีกนะครับ  นิยมใช้ทำปลั๊กไฟ  สวิทช์ไฟฟ้า
ในยุคสงครามเวียดนาม  มีพลาสติคมากแล้วครับ  แม้แต่ PE โมเลกุลหนัก หรือเคฟล่าร์ก็ค้นพบในช่วงนี้ 
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: สิงหาคม 12, 2008, 04:41:34 PM โดย สุพินท์ » บันทึกการเข้า
NaiMai>รักในหลวง
ไม่ว่าจะมีพร้อมทุกสิ่ง แต่ก็ยังไม่มีสิ่งใดเหนือกว่าความมีสติ
Hero Member
*****

คะแนน 741
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 14573


นายใหม่ รักหมู่


เว็บไซต์
« ตอบ #25 เมื่อ: สิงหาคม 12, 2008, 07:07:02 PM »

 Grin กับโครงอัลลอย พวกสารที่เป็นกรดอันตรายเราคงไม่เอาไปโดนง่าย ๆ อยู่แล้ว แต่ที่ควรระวังมากที่สุดก็คือความเค็มของเหงื่อเรานี่แหละครับ เพราะมันต้องโดนเหงื่อกันอยู่แล้ว อย่าเผลอลืมทำความสะอาดหลังจับหรือพก ง่าย ๆ แค่เอาผ้าชื้นน้ำมันลูบก็พอ และหมั่นเอาซองพกโดยเฉพาะผู้ที่ใช้ซองพกในมาซักให้หมดความเค็มของเหงื่อที่ซึมในหนังหรือผ้าอยู่ด้วย ไม่เช่นนั้นโครงอัลลอยอาจจะยุ่ยและแหว่งได้ ซึ่งเกิดกับเบเรตต้า 92 ของเพื่อนผมมาแล้ว Grin


Bakelite (thermosetting phenol formaldehyde resin)   มันมีตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอีกนะครับ  นิยมใช้ทำปลั๊กไฟ  สวิทช์ไฟฟ้า
ในยุคสงครามเวียดนาม  มีพลาสติคมากแล้วครับ  แม้แต่ PE โมเลกุลหนัก หรือเคฟล่าร์ก็ค้นพบในช่วงนี้ 

 Grin เคยดูสารคดี ว่า ขั้นตอนการผลิต Bakelite นั้นสร้างมลภาวะเป็นพิษอย่างมากเลยหรือครับท่านผู้การ Grin
บันทึกการเข้า

หน้า: 1 [2]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.078 วินาที กับ 21 คำสั่ง