เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
ตุลาคม 23, 2024, 12:30:59 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1] 2 3
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: มารู้จัก"กล่องดำ"กันม๊ะ  (อ่าน 5309 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Charoon รักในหลวงครับ
ลิขิตฟ้า หรือจะสู้มานะตน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1044
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12332


เจ็บแล้วจำคือคน เจ็บแล้วทนคือคนรักกัน


เว็บไซต์
« เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 06:55:45 PM »



เกิดข่าวเครื่องบินตกขึ้นทีไร ใครๆ ก็ถามหาแต่กล่องดำ

กล่องดำ แท้จริงมีอยู่หลายสี ไม่เฉพาะสีดำ สีที่เห็นกันบ่อย คือสีส้ม เพื่อให้ค้นหาง่ายหากเครื่องบินตก แต่ไม่นิยมเรียกว่า กล่องส้ม จะรวมๆ เรียกว่า กล่องดำ ซึ่งอาจมีที่มาจากคำว่า Black Box ที่หมายถึงกล่องซึ่งเราไม่รู้ว่ามีอะไรอยู่ในนั้น หรือกล่องปริศนานั่นเอง
บันทึกการเข้า

"สิ่งที่ควรทำคือความดี สิ่งที่ควรมีคื่อคุณธรรม สิ่งที่ควรจำคือผู้มีrระคุณ"
Charoon รักในหลวงครับ
ลิขิตฟ้า หรือจะสู้มานะตน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1044
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12332


เจ็บแล้วจำคือคน เจ็บแล้วทนคือคนรักกัน


เว็บไซต์
« ตอบ #1 เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 06:56:30 PM »

เครื่องบินแต่ละลำจะมีกล่องดำ 2 กล่อง กล่องหนึ่งใช้บันทึกข้อมูลการบิน สภาพอากาศ ความเร็ว ระดับความสูง การเร่งผ่อนคันบิดปิดเปิดน้ำมัน แรงขับของเครื่อง และตำแหน่งของปีก

อีกกล่องบันทึกเสียงสนทนาในห้องนักบิน การติดต่อระหว่างนักบินกับหอบังคับการบิน เสียงของลูกเรือที่เข้ามาในห้องนักบิน โดยจะเริ่มบันทึกตั้งแต่นักบินติดเครื่องไปจนถึงดับเครื่อง

เวลาเครื่องบินตก กล่องดำมักไม่เสียหาย เพราะตำแหน่งที่ติดตั้งจะอยู่ส่วนหางของเครื่องบิน ซึ่งเป็นบริเวณที่แข็งแรงและได้รับผลกระทบกระเทือนน้อยที่สุดเวลาเครื่องบินตก
บันทึกการเข้า

"สิ่งที่ควรทำคือความดี สิ่งที่ควรมีคื่อคุณธรรม สิ่งที่ควรจำคือผู้มีrระคุณ"
Charoon รักในหลวงครับ
ลิขิตฟ้า หรือจะสู้มานะตน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1044
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12332


เจ็บแล้วจำคือคน เจ็บแล้วทนคือคนรักกัน


เว็บไซต์
« ตอบ #2 เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 06:57:06 PM »

นอกจากนี้ ตัวกล่องยังแข็งแรง ทนแรงกระแทกแรงระเบิด ทนน้ำ ทนไฟ เพราะประกอบด้วยวัสดุ 3 ชั้น ชั้นในสุดทำจากแผ่นอะลูมิเนียมบางๆ ห่อหุ้มอุปกรณ์บันทึกข้อมูลไว้ ชั้นที่สองเป็นฉนวนทนความร้อน และชั้นที่สามทำด้วยเหล็กกล้าไร้สนิมทนความร้อนสูง

โลกเริ่มมีการนำกล่องดำมาใช้ตั้งแต่ปีพ.ศ.2493
บันทึกการเข้า

"สิ่งที่ควรทำคือความดี สิ่งที่ควรมีคื่อคุณธรรม สิ่งที่ควรจำคือผู้มีrระคุณ"
ชัยบึงกาฬ รักในหลวง
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1991
ออฟไลน์

กระทู้: 8962


ต้องรู้ให้ถึงแก่น...


« ตอบ #3 เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 07:00:42 PM »

มาขอความรู้ต่อครับพี่...
บันทึกการเข้า
PU45™
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 3692
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 62457



« ตอบ #4 เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 07:02:30 PM »


        ขอบคุณครับลุงรูญ ....... ได้เสริมความรู้เพิ่มเติมอีกแยะเชียว

บันทึกการเข้า

                
Audy452 ♥ รักในหลวง
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1180
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 14952



« ตอบ #5 เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 07:03:21 PM »

นักเรียน....เคาร๊พ....สวัสดีครับลุงรูญ Grin Grin
บันทึกการเข้า

Sig228-kolok
KU47 AGGIE / SOTUS HS9VOL
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 2947
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 40236



« ตอบ #6 เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 07:12:46 PM »

สวัสดีครับคุณครู ...
บันทึกการเข้า

ขายที่ดิน 20 ไร่ บริเวณคลอง 8 อ.ธัญบุรี จ.ปทุมฯ ไร่ละ 1.8 ล้าน โทร 086-2859988
กดที่นี่ >>http://www.wikimapia.org/#lat=14.0499777&lon=100.7824481&z=17&l=0&m=b
A111
Hero Member
*****

คะแนน 81
ออฟไลน์

กระทู้: 2669


จากภูผา สู่ท้องทะเล


« ตอบ #7 เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 08:49:36 PM »

ขอบคุณอาจารย์มากได้ความรู้
บันทึกการเข้า
แจ็ค
"กำบ่มีอย่าไปอู้...กำบ่ฮู้อย่าได้จ๋า"
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 461
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 7529


« ตอบ #8 เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 09:05:26 PM »


....... อ้าว .... ท่าน ผอ. จรูญ เป็นไงมาไงถึงได้มาเข้าห้องสอน  เป็นผู้บริหารสงสัยว่าจะเบื่อหรือไม่ก็เซ็ง ๆ เอายังไงดีล่ะทีนี้  ถึงว่ากระทู้ตรวจสอบนักการเมืองเลยไม่ค่อยได้ไปทำงาน ...... เล่นหลายทางจังท่าน เอาสักทางนะ ...... อ้อ ... ลืมชมไป ... ทำการสอนได้ดีมาก .... เยี่ยม ....  เยี่ยม เยี่ยม เยี่ยม
บันทึกการเข้า

... เมื่อความกลัวถึงขีดสุด  มันจะเกิดเป็นความกล้าที่บ้าบิ่น ...
JJ-รักในหลวง
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 386
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 9425


« ตอบ #9 เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 09:39:40 PM »

ขอบคุณครับ
บันทึกการเข้า
โป้ง*กันบอย - รักในหลวง
YOU'LL NEVER WALK ALONE
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1629
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 16886


คนฮัก เต้าผืนหนัง........คนจัง เต้าผืนสาด


เว็บไซต์
« ตอบ #10 เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 10:18:34 PM »

ขอบคุณมากครับ
บันทึกการเข้า


e.k.1911
ถ้าคนดีอยู่ในหมู่บ้านของชนเหล่าใด ความสุขและผลจักมีแก่ชนเหล่านั้น
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 251
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2809


Still Loving COLT


« ตอบ #11 เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 10:24:44 PM »

ขอบคุณมากๆครับ
บันทึกการเข้า

โปรดจงเอาดอกไม้เสียบไว้ที่ปลายปืน  แล้วหยิบยื่นไมตรีมิตรให้แก่กัน
Ramsjai
^ป้าแรมส์ใจดี^
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1075
ออฟไลน์

เพศ: หญิง
กระทู้: 7191


"ชีวิตมีคนที่เกลียดไม่กี่คน ที่เหลือรำคาญ"


« ตอบ #12 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 03:17:48 AM »

ขอบคุณมากค่ะ  Cheesy
บันทึกการเข้า

ถ้าเป็นความทรงจำที่มีค่าล่ะก็..ห้ามลืมเด็ดขาด เพราะคนตายจะมีชีวิตอยู่ในความทรงจำของเราเท่านั้น..
น้าพงษ์...รักในหลวง
1911ต้อง.โค้ลท์.ที่เหลือคือก๊อปปี้.ลอกพี่.มะขิ่นครับ
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 508
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 9922


« ตอบ #13 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 07:02:02 AM »

ขอบคุณครับ..เช่นกันครับเห็นแต่สีส้ม.แต่เรียก.กล่องดำ.. Grin
บันทึกการเข้า

...ประเทศไทย.ไม่ใช่ที่สำหรับใครที่จะมา.ฝึกงาน...
flyingkob-รักในหลวง
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 361
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2396


"สุวิชาโน ภวัง โหติ" ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ


« ตอบ #14 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 08:11:52 AM »

กล่องดำ หรือ Black Box สมัยก่อนอุปการณ์นี้จะพ่นสีดำ จะติดตั้งบริเวณที่จะเกิดความเสียหายน้อยที่สุดของเครื่องบิน เมื่อเกิดอุบัติเหตุ พอมาตอนหลังจึงมีการเปลี่ยนแปลงโดยพ่นเป็นสีส้ม ทั้งนี้เพื่อจะได้ง่ายต่อการค้นหาในซากเครื่องบิน กล่องดำ (ภาษาชาวบ้าน) ประกอบด้วย
Cockpit Voice Recorder คือ การบันทึกเสียงภายในห้องนักบิน ซึ่งจะรวมถึงการบันทึกการติดต่อระหว่างเครื่องบินกับหอบังคับการบิน และระหว่างห้องนักบินกับห้องโดยสาร
การทำงาน ขึ้นอยู่กับแบบของเครื่องบิน แต่ส่วนใหญ่จะบันทึกเมื่อเปิดแบตฯ ห้วงเวลาทำงานนั้น ตัวเทปจะบันทึกได้เพียงสามสิบนาทีเท่านั้น เมื่อครบตัวเทปจะเริ่มบันทึกใหม่โดยการลบของเก่าออก ดังนั้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุ ตัวบันทึกจะหยุดทันที่ และการถอดเทปนั้นจะฟังการสนทนาในสามสิบนาทีสุดท้ายก่อนเกิดอุบัติเหตุ ปล. ในการทำงานปรกตินักบินสามารถลบทิ้งได้ทุกเวลา (โดยเฉพาะเวลาด่าผู้บริหาร)
Flight Data Recorder คือการบันทึกการทำงานของตัวเครื่องบิน ท่าทางการบินต่างๆ
การทำงานนั้น จะเริ่มทำการบันทึกเมื่อสตาร์ทเครื่องยนต์ และจะบันทึกต่อเนื่องจนกระทั่งเต็มตัวเทปบันทึก บางแบบจะใช้เวลาประมาณสามเดือนจึงถอดออกแล้วนำเทปตัวใหม่ใส่ลงไป โดยปรกติทั่วไปแล้วเมื่อนักบินรายงานข้อบกพร่องของระบบต่างๆ เพื่อทำการแก้ไขนั้น ช่างสามารถถอดเจ้า FDR นี้ออกไปแปลเพื่อหาสาเหตุของข้อบกพร่องนี้ได้ ในประเทศไทยมีที่ถอดอระหัสนี้ที่การบินไทยเท่านั้นครับ แต่ศักย์ภาพของการบินไทยมีไว้เพื่อการทำงานของตัวเองไม่ได้มีเพื่อการสอบสวนอุบัติเหตุ
ทั้ง CVR และ FDR เมื่อเกิดอุบัติเหตุทั้งบนบกและในน้ำ ตัวของมันเองจะส่งสัญญาณออกมาเพื่อการค้นหา แต่ถ้ามันตกในน้ำเมื่อนำขึ้นมาจะต้องเอาใส่ถังและหล่อน้ำไว้ แต่ถ้าอยู่บบนบกไม่จำเป็น

ยังมีอีกระบบหนึ่งคือ Emergency Locator Transmitter เจ้าตัวนี้จะส่งสัญญาณตำแหน่งของเครื่องบินเมื่อเกิดอุบัติเหตุ เพื่อให้หน่วยกู้ภัยจะได้ทราบตำเหน่ง บนเครื่องบินโดยสารจะมีติดกับเครื่องบิน และที่เป็น Portable เจ้า Portable มีการทำงานที่ตลกที่สุดคือ เมื่อจะเปิดใช้งานต้องใช้น้ำหล่อกับแบตฯที่ติดอยู่กับเสื้อชูชีพ และที่ดีที่สุดคือใช้"ฉี่"ของเรากรอกลงไปจะทำให้การทำงานของเครื่องดีที่สุด การส่งสัญญาณนั้นจะส่งออกไปทุกทิศทางโดยสัญญาณนั้นจะลิ้งค์กับช่องความถี่ฉุกเฉินคือ 121.50 MhZ หรือ 345 Mhz ในระบบ UHF ซึ่งนักบินที่บินอยู่ในรัศมีจะได้ยินสัญญาณนี้เป็นระหัสเสียงสูงต่ำ ยิ่งบินใกล้ก็จะยิ่งได้ยินเสียงดังขึ้น
แต่เครื่องบินเล็ก หรือเครื่องบินฝึกไม่ได้ติดตั้ง ELT ไว้เนื่องจากไม่มีข้อกำหนดจากประเทศผู้ผผลิต ดังนั้นเครื่องบินที่ตกที่เขาใหญ่จึงหาไม่เจอ
บันทึกการเข้า

ตึกยาวหลังนี้ สอนให้เรารู้สำนึกถึงบุญคุณของแผ่นดิน
หน้า: [1] 2 3
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.125 วินาที กับ 22 คำสั่ง