เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
ตุลาคม 23, 2024, 01:05:05 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เว็บบอร์ด อวป. สามารถเข้าได้ทั้งสองทาง คือ www.gunsandgames.com และ www.gunsandgames.net ครับ
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 [2] 3
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: มารู้จัก"กล่องดำ"กันม๊ะ  (อ่าน 5336 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 6 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
จอยฮันเตอร์
พระรามเก้า 15-28 E23 LLL
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 10195
ออฟไลน์

กระทู้: 47057


M85.ss


« ตอบ #15 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 08:22:17 AM »

ขอบคุณครับ แล้วผลบันทึกการบิน วันทูดก ไปถึงใหนแล้วครับ Grin
บันทึกการเข้า

ห ม า ย จั น ท ร์
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 563
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6222



« ตอบ #16 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 09:12:19 AM »

เข้าใจว่าเราเองยังไม่สามารถถอดรหัสเหล่านี้เองได้ จึงต้องส่งไปถอดที่อื่น

ผลของการถอดรหัสสามารถเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ครับเพราะไม่มีใครรู้ว่ามีข้อมูลอะไร

อาจมีการบิดเบือนเพื่อชื่อเสียงหรือผลประโยชน์ทางธุรกิจ  (  โห้ คิดไปใหญ่โตแล้วผม ) Grin Grin
บันทึกการเข้า

รัตตรา
"อร่อย..อารมณ์"
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 506
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6849


08-21491911 08-59591911


« ตอบ #17 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 11:16:00 AM »

ผมมาช้าครับอาจารย์ จะหมดชั่วโมงเรียนแล้ว.... Grin
บันทึกการเข้า


"จงคิดว่า มีใคร ได้มองอยู่...เฝ้ามองดู ตัวเรา อย่างเฝ้าจ้อง
ทำสิ่งใด รู้ได้ สายตามอง...อย่างน้อยต้อง รู้ละอาย ในหมายทำ"
andaman
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #18 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 11:28:56 AM »

เฮ้อ......หาทั้งวันไอ้กล่องดำนี่.....ถ้าบอกว่าหากล่องสีส้มน่ะลุงหาเจอตั้งนานแล้ว   ขำก๊าก
บันทึกการเข้า
naisomchai
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #19 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 12:07:16 PM »

แล้วทำไมค้นหาแทบตาย... แต่พอเจอแล้วเราไม่เห็นได้ทราบอะไรเป็นเรื่องเป็นราวจากเจ้ากล่องนี้เลยเล่าครับ...

แถมยังมีเรื่องการอ่านข้อมูลข้างในนั้นอีก... เทคโนโลยีมันคงสูงส่งมากครับ สมัยเครื่องตกตั้งสิบกว่าปีมาแล้วประเทศไทยไม่มีศักยภาพอ่านข้อมูลข้างในนั้น... จนป่านนี้ประเทศไทยก็ยังไม่มีศักยภาพอ่านข้อมูลอีกอยู่ดี...

หากมันสูงส่งมากมายนัก ทำไมเขาถึงไม่สร้างไอ้แบบที่อ่านได้ง่ายๆเล่าครับ... เดี๋ยวนี้เทคโนโลยีระบบเก็บข้อมูลไปไกลมากแล้ว วิธีเก็บข้อมูลในตัวไมโครชิปโดยไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนไหวทางกลเลยก็เป็นเรื่องง่ายในชีวิตประจำวันแล้วครับ... ทนแรงจีได้เป็นร้อยฯ ทนอุณหภูมิได้มากเท่าที่สร้างฉนวนหุ้มเอาไว้... ความจุสูงแบบเก็บหนังยาวมาตรฐานฮอลลีวู้ดตั้งเป็นสิบเรื่องในไมโครชิบเม็ดเดียวเองครับ...

คือนายสมชายสงสัยว่ามันน่าจะมีเรื่องอื่นที่เขาไม่ได้บอกเราครับ... แล้วทำไก๋บอกเราว่าเทคโนโลยีมันสูงส่งเสียจนกระทั่งต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญครับ... เย้
บันทึกการเข้า
ตูมตาม - รักในหลวง -
Hero Member
*****

คะแนน 100
ออฟไลน์

กระทู้: 2023


« ตอบ #20 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 12:14:33 PM »

แล้วทำไมค้นหาแทบตาย... แต่พอเจอแล้วเราไม่เห็นได้ทราบอะไรเป็นเรื่องเป็นราวจากเจ้ากล่องนี้เลยเล่าครับ...

แถมยังมีเรื่องการอ่านข้อมูลข้างในนั้นอีก... เทคโนโลยีมันคงสูงส่งมากครับ สมัยเครื่องตกตั้งสิบกว่าปีมาแล้วประเทศไทยไม่มีศักยภาพอ่านข้อมูลข้างในนั้น... จนป่านนี้ประเทศไทยก็ยังไม่มีศักยภาพอ่านข้อมูลอีกอยู่ดี...

หากมันสูงส่งมากมายนัก ทำไมเขาถึงไม่สร้างไอ้แบบที่อ่านได้ง่ายๆเล่าครับ... เดี๋ยวนี้เทคโนโลยีระบบเก็บข้อมูลไปไกลมากแล้ว วิธีเก็บข้อมูลในตัวไมโครชิปโดยไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนไหวทางกลเลยก็เป็นเรื่องง่ายในชีวิตประจำวันแล้วครับ... ทนแรงจีได้เป็นร้อยฯ ทนอุณหภูมิได้มากเท่าที่สร้างฉนวนหุ้มเอาไว้... ความจุสูงแบบเก็บหนังยาวมาตรฐานฮอลลีวู้ดตั้งเป็นสิบเรื่องในไมโครชิบเม็ดเดียวเองครับ...

คือนายสมชายสงสัยว่ามันน่าจะมีเรื่องอื่นที่เขาไม่ได้บอกเราครับ... แล้วทำไก๋บอกเราว่าเทคโนโลยีมันสูงส่งเสียจนกระทั่งต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญครับ... เย้


เห็นด้วย...ครับ.....
บันทึกการเข้า

ใดๆในโลก  ล้วนมีข้อยกเว้น
ทัดมาลา ขอเป็นข้ารองพระบาททุกชาติไป
มืออ่อน หมัดแข็ง
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 857
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6569


เตสาหัง สิรสา ปาเท วันทามิ ปุริสุตตเม


« ตอบ #21 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 12:35:54 PM »

ครับ
บันทึกการเข้า

บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ ปกบ้านป้องเมืองคุ้มเหย้า
เสียเลือดเสียเนื้อมิใช่เบา หน้าที่เรารักษาสืบไป
      
ลูกหลานเหลนโหลนภายหน้า จะได้มีพสุธาอาศัย
อนาคตจะต้องมีประเทศไทย มิยอมให้ผู้ใดมาทำลาย
Charoon รักในหลวงครับ
ลิขิตฟ้า หรือจะสู้มานะตน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1044
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12332


เจ็บแล้วจำคือคน เจ็บแล้วทนคือคนรักกัน


เว็บไซต์
« ตอบ #22 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 03:24:26 PM »


ภายในกล่องดำมีอะไรอยู่บ้าง ตัวใครตัวมันแปลกันเอาเอง



บันทึกการเข้า

"สิ่งที่ควรทำคือความดี สิ่งที่ควรมีคื่อคุณธรรม สิ่งที่ควรจำคือผู้มีrระคุณ"
sopon7
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 139
ออฟไลน์

กระทู้: 1095


« ตอบ #23 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2007, 04:12:02 PM »

โถมีเท่านี้เอง...รู้แบบนี้ให้พี่สมชายผลิตเองก็ได้  ขำก๊าก
บันทึกการเข้า
flyingkob-รักในหลวง
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 361
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2396


"สุวิชาโน ภวัง โหติ" ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ


« ตอบ #24 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2007, 08:26:33 AM »

แล้วทำไมค้นหาแทบตาย... แต่พอเจอแล้วเราไม่เห็นได้ทราบอะไรเป็นเรื่องเป็นราวจากเจ้ากล่องนี้เลยเล่าครับ...

แถมยังมีเรื่องการอ่านข้อมูลข้างในนั้นอีก... เทคโนโลยีมันคงสูงส่งมากครับ สมัยเครื่องตกตั้งสิบกว่าปีมาแล้วประเทศไทยไม่มีศักยภาพอ่านข้อมูลข้างในนั้น... จนป่านนี้ประเทศไทยก็ยังไม่มีศักยภาพอ่านข้อมูลอีกอยู่ดี...

หากมันสูงส่งมากมายนัก ทำไมเขาถึงไม่สร้างไอ้แบบที่อ่านได้ง่ายๆเล่าครับ... เดี๋ยวนี้เทคโนโลยีระบบเก็บข้อมูลไปไกลมากแล้ว วิธีเก็บข้อมูลในตัวไมโครชิปโดยไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนไหวทางกลเลยก็เป็นเรื่องง่ายในชีวิตประจำวันแล้วครับ... ทนแรงจีได้เป็นร้อยฯ ทนอุณหภูมิได้มากเท่าที่สร้างฉนวนหุ้มเอาไว้... ความจุสูงแบบเก็บหนังยาวมาตรฐานฮอลลีวู้ดตั้งเป็นสิบเรื่องในไมโครชิบเม็ดเดียวเองครับ...

คือนายสมชายสงสัยว่ามันน่าจะมีเรื่องอื่นที่เขาไม่ได้บอกเราครับ... แล้วทำไก๋บอกเราว่าเทคโนโลยีมันสูงส่งเสียจนกระทั่งต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญครับ... เย้

ในวงการการบิน กว่าจะสร้างอุปกรณ์ใดๆที่จะมาใส่ในเครื่องบินนั้นมันต้องใช้เวลา ยกตัวอย่างเช่น การสับเปลี่ยนเก้าอี้นั่งทั้งลำ จาก 195 ที่นั่ง มาเป็น 207 ที่นั่ง ถ้ายังไม่มีพิมพ์เขียวในแบบที่ต้องการ จะต้องส่งแบบพิมพ์เขียวให้กับรัฐบาลของประเทศผู้ผลิตก่อนเพื่อรับรอง ซึ่งจะต้องทำการทดลองการตกการกระแทก กว่าจะได้การรับรองใช้เวลาร่วมปี เป็นต้น
และไอ้ที่ว่าเครื่องบินใช้เทคโนโลยีสูงนั้นมันไม่ใช่หรอกครับ ระบบนำร่องของเครื่องบินยังใช้เทคดนโลยีสมัยเมื่อห้าสิบปีที่แล้วอย่างไรอย่างนั้น คอมพิวเตอร์ที่ใช้เพื่อการนำร่อง ก็ใช้ CPU ที่ล้าสมัยกว่าคอมพิวเตอร์โง่ๆที่เราใช้กันอยู่เลยครับ
ส่วนการถอดระหัสใน FDR นั้นไม่ใช่ว่าประเทศไทยไม่มีศักย์ภาพเพียงพอที่จะถอดระหัส แต่ตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยเป็นรัฐภาคีกับองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ เมื่อเกิดอุบัติเหตุทางอากาศ จะต้องส่ง FDR & CVR ไปยังประเทศที่เป็นกลางเพื่อการถอดระหัสทั้งนี้เพื่อที่จะได้ไม่เป้นการเข้าข้างใคร แต่ในกรณีของ วันทูโกนั้นผมไม่ทราบว่าเจ้าของเครื่องบินนั้นเป็นประเทศไหน เพียงแต่วันทูโกเป็นผู้ครอบครองเท่านั้น และเครื่องบินจดทะเบียนไทย ดังนั้นจะต้องส่งอุปกรณ์ที่ว่านี้ไปยังประเทศที่สาม แต่ยังไม่เข้าใจว่าเพราะเหตุใดจึงต้องส่งไปยังสหรัฐฯ เพราะเครื่องบินแบบ MD-82 นั้นผลิตในสหรัฐฯ
ถึงอย่างไรก็ตามเมื่อทำการถอดระหัสแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการเอาข้อมูลที่ถอดรวมทั้งเสียงบันทึกการสนทนา มาทำการสร้างในรูปแบบภาพและเสียงเคลื่อนไหว เพียงแต่ไม่มีหน้านักบิน ทั้งนี้เพื่อที่จะทราบถึงการทำงานของนักบินการทำงานของเครื่องบิน รวมไปถึงว่าในช่วงเวลานั้นใครเป็นคนบินจนกระทั่งเครื่องเกิดอุบัติเหตุ ผมมีข้อมูลของการสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในประเทศไทยซึ่งจะไม่เหมือนกับที่นำออกฉายทางช่อง National Geographic หรือ Discovery Channel แต่ข้อมูลนี้ยังเผยแพร่ไม่ได้เนื่องจากยังไม่มีผลสรุปออกมาอย่างเป็นทางการต่อสาธารณชน แต่นำมาศึกษาเพื่อหาทางป้องกันไม่ให้เกิดขึ้น
ในปัจจุบันนี้ทุกๆสายการบินจะมีการอบรมวิชา CRM (Crew Resource Management) โดยการเอานักบิน, ลูกเรือ, ช่าง, ฯลฯ เข้ามาอบรมพร้อมกัน เอาอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจาก นักบิน ลูกเรือ ช่าง จากคนทำความสะอาด มาศึกษาและวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่น่าจะเกิดขึ้น และวิธีการป้องกัน ซึ่งผู้ที่ผ่านการอบรมนี้ร้อยละ 95 สามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ และผู้ที่เข้าจะต้องกลับเข้าอบรมย่อยทุกๆปี และอบรมใหญ่ทุกๆสองปี

บางเรื่องหลังไมค์ได้ครับ มันมีหลายๆอย่างที่ไม่สามารถบอกได้ เอาไว้ถ้ามีโอกาสกันข้าวกันจะเล่าให้ฟัง สนุกกว่าเรื่องปืนเยอะ
บันทึกการเข้า

ตึกยาวหลังนี้ สอนให้เรารู้สำนึกถึงบุญคุณของแผ่นดิน
naisomchai
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #25 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2007, 08:34:24 AM »

ขอบคุณ คุณ FlyingKob ครับ...

ว่าแล้วครับ นายสมชายถึงว่ามันน่าจะมีเรื่องอื่นนอกจากข้ออ้างเรื่องเทคโนโลยีสูงครับ...
บันทึกการเข้า
ramon-รักในหลวง
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน -68
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 246


« ตอบ #26 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2007, 09:41:05 AM »

Aviation distress signals
The civilian aircraft emergency frequency is 121.5 MHz. Military aircraft use 243 MHz (which is a harmonic of 121.5 MHz, and therefore civilian beacons transmit on this frequency as well). Aircraft can also signal an emergency by setting one of several special transponder codes
  ช่วยแก้ไขให้คุณกบบินครับ
บันทึกการเข้า
flyingkob-รักในหลวง
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 361
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2396


"สุวิชาโน ภวัง โหติ" ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ


« ตอบ #27 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2007, 10:53:10 AM »

Aviation distress signals
The civilian aircraft emergency frequency is 121.5 MHz. Military aircraft use 243 MHz (which is a harmonic of 121.5 MHz, and therefore civilian beacons transmit on this frequency as well). Aircraft can also signal an emergency by setting one of several special transponder codes
  ช่วยแก้ไขให้คุณกบบินครับ

ขอบคุณครับ 
ระบบการสื่อสารบนเครื่องบินนั้นจะใช้ความถี่ในระบบ VHF-AM สำหรับเครื่องบินพลเรือน ส่วนเครื่องบินทางทหาร(เครื่องบินรบ)นั้นจะใช้การสื่อสารระบบ UHF เป็นส่วนหลัก และศูนย์ควบคุมการจราจรทางอากาศจะใช้ทั้งสองระบบ เพราะต้องควบคุมการจราจรทางอากาศของเครื่องบินทุกลำที่บินอยู่ในน่านฟ้า
ช่องสัญญาณความถี่ที่ใช้เพื่อการติดต่อฉุกเฉินนั้นได้กำหนดใน ICAO Annex10 Communications ในเครื่องมือสื่อสารระบบ VHF-AM จะใช้ความถี่ 121.50 MHz. ส่วนการสื่อสารระบ UHF จะใช้ช่องสัญญาณ 243 MHz. และช่องสัญญาณนี้เมื่อนักบินทำการติดต่อกับศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศเพื่อแจ้งเหตุฉุกเฉินไม่ว่ากรณีใดการตามที่เกิดขึ้นบนเครื่องบิน นักบินจะต้องทำการเปลี่ยนระหัสจากปรกติเป็น 7700 ซึ่งศูนย์ควบคุมจะทราบถึงตำแหน่งของเครื่องบินนั้น ในกรณ๊ที่อยู่ในขอบเขตของเรดาร์ เพื่อทำการนำร่องให้นักบินนำเครื่องบินกลับมาลงยังสนามบินที่ใกล้เคียง และความถี่ช่องสัญญาณฉุกฉินนี้นักบินจะต้องเปิด Standby ไว้ตลอดเวลาทั้งนี้ในกรณ๊ที่ บางครั้งระบบนำร่องอาจจะผิดพลาดจนเครื่องบินบินล้ำน่านฟ้าของประเทศอื่นๆจนถึงขนาดที่ประเทศนั้นส่งเครื่องบินรบขึ้นมาประกบดู ซึ่งในกรณีนี้นักบินรบสามารถติดต่อกับเครื่องบินที่บินล้ำน่านฟ้าของตนเองได้และพาออกจากน่านฟ้าของตนเองโดยศูนย์ควบคุมจราจรจะเป็นคนเคลียร์เส้นทางบินให้ใหม่
และอุปกรณ์ที่ว่านี้คือ Transponder มีหน้าที่อะไร.... มันมีหน้าที่บอก Flight number ตำแหน่ง ทิศทาง ความเร็ว ความสูงของเครื่องบิน ก่อนที่เครื่องบินจะออกเดินทางนักบินจะได้รับระหัสเป็นตัวเลขสี่ตัวซึ่งแล้วแต่ทางศูนย์ควบคุมจะให้มา พอเมื่อเครื่องบินอยู่บนท้องฟ้าแล้ว ไอ้เจ้าเลขสี่ตัวจะปรากฎอยู่บนจอเรดาร์ซึ่งทางศูนย์ควบคุมจะทราบถึงตำแหน่งของเครื่องบินตลอดเวลา เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินนักบินจะเปลี่ยนระหัสมาเป็น 7700 อย่างที่ว่าเพื่อศูนย์ควบคุมจะได้ทราบว่าตอนนี้มีเครื่องบินต้องการความช่วยเหลืออยู่ เพราะบนจอเรดาร์นั้นมันมีเครื่องบินเต็มไปหมดจึงต้องใช้ระหัสที่ไม่เหมือนกับชาวบ้านเขา ปัจจุบันนี้องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศได้กำหนดระหัสฉุกเฉินไว้สี่ความหมายด้วยกันครับ ไม่เป็นความลับอะไรแล้วผมจะบอกให้เป็นวิทยาทาน
7700 คือสัญญาฉุกเฉินทั่วไป
7600 คืออุปกรณ์สื่อสารบนเครื่องใช้การไม่ได้ เช่น ส่งวิทยุไม่ได้ รับวิทยุไม่ได้ หรือทั้งรับทั้งส่งไม่ได้
7500 คือ มีการจี้เครื่องบิน
7400 คือมีการจี้เครื่องบินและมีระบิดบนเครื่องบิน

บันทึกการเข้า

ตึกยาวหลังนี้ สอนให้เรารู้สำนึกถึงบุญคุณของแผ่นดิน
ing เด็ก ส.จ.
Hero Member
*****

คะแนน 13
ออฟไลน์

กระทู้: 1056


« ตอบ #28 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2007, 12:19:22 PM »

แล้วทำไมค้นหาแทบตาย... แต่พอเจอแล้วเราไม่เห็นได้ทราบอะไรเป็นเรื่องเป็นราวจากเจ้ากล่องนี้เลยเล่าครับ...

แถมยังมีเรื่องการอ่านข้อมูลข้างในนั้นอีก... เทคโนโลยีมันคงสูงส่งมากครับ สมัยเครื่องตกตั้งสิบกว่าปีมาแล้วประเทศไทยไม่มีศักยภาพอ่านข้อมูลข้างในนั้น... จนป่านนี้ประเทศไทยก็ยังไม่มีศักยภาพอ่านข้อมูลอีกอยู่ดี...

หากมันสูงส่งมากมายนัก ทำไมเขาถึงไม่สร้างไอ้แบบที่อ่านได้ง่ายๆเล่าครับ... เดี๋ยวนี้เทคโนโลยีระบบเก็บข้อมูลไปไกลมากแล้ว วิธีเก็บข้อมูลในตัวไมโครชิปโดยไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนไหวทางกลเลยก็เป็นเรื่องง่ายในชีวิตประจำวันแล้วครับ... ทนแรงจีได้เป็นร้อยฯ ทนอุณหภูมิได้มากเท่าที่สร้างฉนวนหุ้มเอาไว้... ความจุสูงแบบเก็บหนังยาวมาตรฐานฮอลลีวู้ดตั้งเป็นสิบเรื่องในไมโครชิบเม็ดเดียวเองครับ...

คือนายสมชายสงสัยว่ามันน่าจะมีเรื่องอื่นที่เขาไม่ได้บอกเราครับ... แล้วทำไก๋บอกเราว่าเทคโนโลยีมันสูงส่งเสียจนกระทั่งต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญครับ... เย้

ต้องลองทำเป็นธุรกิจการค้าดูครับ

แป๋บเดียวเดี่ยวคนไทยก็ก๊อปได้ ว่ามั้ย Grin Grin
บันทึกการเข้า
ENOLA GAY
Hope for the Best, Prepare for the Worst
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 140
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1191



« ตอบ #29 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2007, 01:30:20 PM »

ขอบคุณสำหรับเรื่องน่ารู้สนุกๆอย่างนี้ครับ  Smiley
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 [2] 3
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.062 วินาที กับ 22 คำสั่ง