หากมอง เครื่องตนแบบ สาธิตเทคโนโลยี่ ไม่มอง เครื่องมือวัดต่าง ๆ ในห้องนักบิน (โคตรโบราณ เครื่องเสียงในรถผม ยังดูดีกว่า) แล้ว โครงสร้างเครื่องบินลำนี้ ขัดกันอยู่หลายจุด
1. เครื่องยนต์ มีขนาดเล็ก เมื่อเทียบกับ ขนาดเครื่องบิน ทำให้ คาดการณ์ได้ว่า หากเครื่อบิน ลำนี้ ไม่เปลี่ยนขนาดเครื่องยนต์ หากบินขึ้นได้ ก็ไม่สามารถทำความเร็ว เข้าใกล้ความเร็วเสียง
2. ปีกหน้า ขนาดใหญ่ กับ ปีกหลัง ที่งองุ้มลง แต่
ไม่มีชยาปีกหน้า เมื่อรวมกับเครื่องยนต์ขนาดเล็ก ทำให้ต้องใช้รันเวย์ ที่ยาวมาก ในการ วิ่งขึ้น และ ร่อนลง และ หากทำการ รบทางอากาศ ระยะประชิด ปีกขนาดเล็ก แต่ ไม่มี ชยาปีกหน้า ทำให้ไม่สามารถสร้างแรงยกได้มากพอ
3. จากภาพถ่าย จะเห็นได้ว่า เครื่องจำลอง ลำนี้ สร้างจาก ไฟเบอร์กลาส แบบลวก ๆ ไม่มีโครงสร้างเสริมแรง
เครื่องบินล่องหน ลำนี้ คงไม่ต่างจาก ตอปิโด ความเร็วสูง ที่ อิหร่าน ออกมาก่อนหน้านี้ คือ แค่เอา จรวตเชื้อเพลิงแข็ง มาถอดปีกออก แล้ว ยิงลงน้ำ แล้ว อวดว่า คิดค้นตอปิโดความเร็วสูงสำเร็จ ทั้ง ๆ ที่ เรื่องนี้ ทาง ฝั่งตะวันตก ทดสอบมาตั้งแต่ สงครามโลกครั้งที่ 2 แล้ว แต่ที่ไม่นำเข้าประจำการ เพราะ จรวตเมื่อ ยิงในน้ำ แล้ว จะเกิดเสียงดังมาก รบกวนเครื่องตรวจจับเสียงของ ตอปิโดเอง เพราะ เสียง เดินทางในน้ำ ได้เร็วกว่า ตอปิโดอยู่ดี ทำให้ คาดว่า ตอปิโดความเร็วสูง ของ อิหร่าน ไม่มีระบบ นำวิถี และ ที่สำคัญ ตอปิโด เครื่องจรวต ใต้น้ำ (ไม่น่าเรียก ตอปิโด) มีระยะยิง ที่สั้นกว่า ตอปิโด ปกติ มาก เพราะ น้ำ มีแรงต้านทาน มากกว่า อากากาศ ทำให้ เชื้อเพลิง หมดเร็วกว่า และ เมื่อ เวลาผ่านไป ตอปิโดก็จะ ลอยตัวขึ้น เพราะ น้ำหนักเบาลง เนื่องจาก เชื้อเพลิงถูกเผาใหม้ หมดไป เกิดห้องว่าง ใน ตอปิโด