ปกติปูเค็มบ้านเรา
มักทำมาจาก
(เรียงลำดับตามความนิยม ด้วยความเข้าใจจากการพบเจอของผมเอง)
ปูนา (ricefield crab)ชื่อวิทยาศาสตร์ Esanthelphusa spp. ,
Sayamia spp.
วงศ์ : Parathelphusidae
อันดับ : Decapoda
เป็นปูน้ำจืด ทั่วประเทศพบ 10 ชนิด เป็นศัตรูสำคัญในนาข้าว กัดทำลายข้าวในระยะต้นกล้า
โดยกัดกินเฉพาะส่วนที่อ่อนและอวบน้ำ ได้ตลอดทั้งวัน ยกเว้นช่วงมีแดดจัด
พืชอาหาร
ข้าว ซากพืชและซากสัตว์ในน้ำ
จากเวบ
http://www.ricethailand.go.th/rkb/data_005/rice_xx2-05_animal_02.htmlปูแสมก้ามม่วงMetopograpsus latifrons (White, 1847), ปูแสมหินหน้ากว้าง ปูแสมก้ามม่วง, wide-faced grapsoid crab, Grapsidae.
พบบริเวณป่าชายเลนตามโคนไม้และรากแสมโกงกาง กระดองสี่เหลี่ยม
ลำตัวและก้ามมีสีม่วง ขนาดประมาณ 6-8 เซนติเมตร
นิยมนำมาทำปูเค็มและในธรรมชาติมีปริมาณน้อยลง
จากเวบ
http://www.pt.ac.th/jintana/pu8.htmปูแสมก้ามส้มParasesarma plicatum (Latreille, 1806),แสมก้ามส้ม, orange-claw marsh crab, Grapsidae.
พบอาศัยอยู่ในป่าชายเลน พื้นดิน และดินปนทราย ขุดรูตามริมตลิ่งน้ำท่วมไม่ถึงลักษณะคล้ายแฟลต
มีขนาดเล็ก 4-5 เซนติเมตร กระดองสี่เหลี่ยม ลำตัวสีน้ำตาล ก้ามสีส้ม พบทั่วไปในพื้นที่ป่าชายเลน
ช่วงเวลาน้ำลง
จากเวบ
http://www.pt.ac.th/jintana/pu7.htmปูเปี้ยวก้ามยาวUca spinata Crane, ปูเปี้ยวก้ามยาว, long-finger fiddler crab, Ocypodidae.
เป็นปูที่มีขนาดใหญ่ 8-10 เซนติเมตร ตัวผู้มีก้ามสีเหลือง ลำตัวมีสีดำลายน้ำเงิน
อาศัยอยู่บริเวณพื้นดินเลนอ่อนตามริมคลอง
จากเวบ
http://www.pt.ac.th/jintana/pu10.htm