เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
ตุลาคม 28, 2024, 09:32:06 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เวบบอร์ดอวป.เป็นเพียงสื่อกลางช่วยให้ผู้ซื้อ และผู้ขาย ได้ติดต่อกันเท่านั้นและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับประโยชน์หรือความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น
ประกาศหรือแบนเนอร์ในเวบไม่ใช่ตัวบ่งชี้ว่าสินค้านั้นมีคุณภาพหรือไม่
โปรดใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจซื้อด้วยตัวเอง
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1] 2
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: Planet Earth สารคดีชั้นยอด  (อ่าน 4759 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 5 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
อรชุน-รักในหลวง
หมู่โลหิต O
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1599
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10265


ขาย-อัพเกรด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง


« เมื่อ: สิงหาคม 13, 2008, 04:56:15 PM »

พอดีว่าพี่ชายเห็นว่าชอบเลยเอามาให้ดูครับ  ประทับใจมากอยากให้พี่ๆในเว็บไปลองหามาดูครับ ภูมิประเทศแปลกๆ  สัตว์หายาก  สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบบสุดขั้ว รับรองไม่ผิดหวัง  เยี่ยม เยี่ยม









บันทึกการเข้า
แจ็ค
"กำบ่มีอย่าไปอู้...กำบ่ฮู้อย่าได้จ๋า"
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 461
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 7529


« ตอบ #1 เมื่อ: สิงหาคม 13, 2008, 06:30:29 PM »

..... สวยและแปลกดีครับผม .... ขอบคุณครับ ....

 เยี่ยม
บันทึกการเข้า

... เมื่อความกลัวถึงขีดสุด  มันจะเกิดเป็นความกล้าที่บ้าบิ่น ...
Choltit
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 143
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 16292



« ตอบ #2 เมื่อ: สิงหาคม 13, 2008, 06:39:22 PM »

ตัวนี้หายากครับ  กว่าจะได้ภาพมาต้องดำน้ำลึกลงไปหลายร้อยกิโลเมตร


บันทึกการเข้า

Choltit
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 143
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 16292



« ตอบ #3 เมื่อ: สิงหาคม 13, 2008, 06:59:44 PM »

เมื่อวานผมนั่งดูช่อง Discovery  เห็นโฆษณาชิ้นนี้แล้วยอดมาก
รู้สึกว่าชื่อชุด I love the world : The world is just awesome


http://www.youtube.com/watch?v=BToZCbf331c&feature=related

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: สิงหาคม 13, 2008, 07:06:17 PM โดย Choltit » บันทึกการเข้า

อรชุน-รักในหลวง
หมู่โลหิต O
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1599
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10265


ขาย-อัพเกรด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง


« ตอบ #4 เมื่อ: สิงหาคม 13, 2008, 07:17:07 PM »

ปกติก็เป็นคนชอบดูช่องสารคดีอยู่แล้ว ยิ่งได้ดูของ BBC ชุดนี้สงสัยจะเป็นโรคเสพติดสารคีไปอีกนาน  หัวเราะร่าน้ำตาริน หัวเราะร่าน้ำตาริน
บันทึกการเข้า
อรชุน-รักในหลวง
หมู่โลหิต O
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1599
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10265


ขาย-อัพเกรด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง


« ตอบ #5 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2008, 02:23:38 PM »

เมื่อวานผมนั่งดูช่อง Discovery  เห็นโฆษณาชิ้นนี้แล้วยอดมาก
รู้สึกว่าชื่อชุด I love the world : The world is just awesome


http://www.youtube.com/watch?v=BToZCbf331c&feature=related



ขอบคุณครับพี่ เดี๋ยวจะไปหามาดู  Grin Grin
บันทึกการเข้า
-Joke-
Vive la liberté de parole et d'opinion!
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน -459
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 4225


^_^


« ตอบ #6 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2008, 02:26:44 PM »



น่ารักมากมาย
บันทึกการเข้า

A la volonté du peuple
Et à la santé du progrès,
Remplis ton cœur d'un vin rebelle
Et à demain, ami fidèle.
Nous voulons faire la lumière
Malgré le masque de la nuit
Pour illuminer notre terre
Et changer la vie.
อรชุน-รักในหลวง
หมู่โลหิต O
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1599
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10265


ขาย-อัพเกรด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง


« ตอบ #7 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2008, 04:01:08 PM »



น่ารักมากมาย

ดูแล้วจะรู้ครับว่าชีวิตเพนกวินนี้ลำเค็ญมากมาย ตัวเมียออกไข่ ตัวผู้ฝักไข่ ตัวผู้ต้องอยู่กับที่ไปไหนไม่ได้แถมไม่ได้กินอะไรเลย ระหว่างที่ตัวเมืยไปหาอาหารตลอดฤดูหนาว
บันทึกการเข้า
Don Quixote
Only God delivers the judgement, we only deliver the suspects.
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 987
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 16169


,=,"--- X Santiago... !!


เว็บไซต์
« ตอบ #8 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2008, 04:03:33 PM »

ชุดนี้ชอบมากครับ บางตอนผมดูหลายครั้งเลย ชุด Blue Planet ก็ดีนะครับ
บันทึกการเข้า

Thou shalt have guns.
Thou shalt have tons of ammo.
Thou shalt shoot well.
Thou shalt not rely on help from the stranger.
คน อยู่สามชุก
sakondh คน อยู่สามชุก
ชาว อวป.
Newbie
****

คะแนน 1
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10


ปืนดี แต่ไม่มีกระสุน


« ตอบ #9 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2008, 04:08:53 PM »

สวยดีจัง
บันทึกการเข้า

ปืนดี ไม่มีกระสุน oVo
น้าพงษ์...รักในหลวง
1911ต้อง.โค้ลท์.ที่เหลือคือก๊อปปี้.ลอกพี่.มะขิ่นครับ
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 508
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 9922


« ตอบ #10 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2008, 05:03:26 PM »

..ขอบคุณที่นำภาพสวยๆมาให้ดูครับ... เยี่ยม
บันทึกการเข้า

...ประเทศไทย.ไม่ใช่ที่สำหรับใครที่จะมา.ฝึกงาน...
-Joke-
Vive la liberté de parole et d'opinion!
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน -459
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 4225


^_^


« ตอบ #11 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2008, 05:18:01 PM »

รอดูทางช่องเคเบิลของอินเดียครับ ไม่รู้ว่าจะมีไหม

แล้วสัญญาณที่ส่งมา เป็น HD ด้วยหรือเปล่าครับ เหมือนกับช่อง NGC ที่มีฉายแบบ HD ด้วย
บันทึกการเข้า

A la volonté du peuple
Et à la santé du progrès,
Remplis ton cœur d'un vin rebelle
Et à demain, ami fidèle.
Nous voulons faire la lumière
Malgré le masque de la nuit
Pour illuminer notre terre
Et changer la vie.
อรชุน-รักในหลวง
หมู่โลหิต O
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1599
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10265


ขาย-อัพเกรด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง


« ตอบ #12 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2008, 06:22:59 PM »

รอดูทางช่องเคเบิลของอินเดียครับ ไม่รู้ว่าจะมีไหม

แล้วสัญญาณที่ส่งมา เป็น HD ด้วยหรือเปล่าครับ เหมือนกับช่อง NGC ที่มีฉายแบบ HD ด้วย

ของผมพี่ส่งมาให้ครับเป็นชุด DVD 5แผ่น
บันทึกการเข้า
อรชุน-รักในหลวง
หมู่โลหิต O
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1599
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10265


ขาย-อัพเกรด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง


« ตอบ #13 เมื่อ: สิงหาคม 18, 2008, 03:32:13 PM »

   รู้หรือไม่ว่า.......

พื้นที่ลุ่มน้ำอเมซอน แหล่งผลิตออกซิเจนให้โลกถึง1ใน4 และเป็นแหล่งผลิตน้ำจืด20%ของโลก ในแต่ล่ะปีถูกบุกรุกโค่นทำลายคิดเป็นพื้นที่เท่ากับประเทศสวิสเซอร์แลนด์

ในช่วง50-80ปีที่ผ่านมาเราสูญเสียพื้นที่สีเขียวทั่วโลกไปแล้วถึง50%

สาหร่ายทะเลขนาดเล็กที่เกิดจากการชนกันของกระแสน้ำอุ่นและน้ำเย็นและเป็นแหล่งอาหารพื้นฐานของแพลงตอน และผลิตออกซิเจน50%ให้กับโลกกำลังลดลงอย่างรวดเร็ว

ในปัจจุบันแม่น้ำโคโลราโดผู้ให้กำเนิดแกรนแคนยอนแทบจะไม่มีน้ำไปถึงทะเลเนื่องจากปริมาณการใช้น้ำที่สูงขึ้นและการสร้างเขื่อน

แม่น้ำมาร่าที่ไหลผ่านทุ่งหญ้ามาไซในแอฟฟริกาปัจุบันไหลไปไม่ถึงทะเลเนื่องจากปริมาณน้ำจากต้นน้ำลดลง

ปัจจุบันแทบจะไม่พบน้ำค้างแข็งบนพื้นที่แถบทะเลทรายอริโซน่า

ปัจจุบันพืชพันธุ์เขตร้อนขายพื้นที่เติบโตขึ้นไปบนภูเขากว่า100เมตร

จากปี1990เส้นขอบพื้นที่น้ำแข็งขั้วโลกขยับขึ้นสูงไปเกือบ100กิโลเมตรและยังลดลงอย่างต่อเนื่อง

ระหว่างถ่ายทำสารคดี Planet Earth มีหมีขั้วโลกตัวผู้โตเต็มวัยที่ฟื้นจากการจำศีลต้องว่ายน้ำออกจากแหล่งหากินปกติกว่า50กิโลเมตรเนื่องจากน้ำทะเลไม่แข็งตัวพอที่จะให้มันล่าเหยื่อได้ ต้องเสียงตายล่าวอลลัสที่หนังหนามากและตัวใหญ่กว่า เนื่องจากหาอาหารไม่ได้ บาดเจ็บจากคมเขี้ยววอลลัสและตายเนื่องจากการขาดอาหาร

ทีมงานถ่ายทำสารคดี แถบพื้นที่ดินโป่งในป่าดิบแถบประเทศคองโก ได้ยินเสียงปืนไรเฟิลดังขึ้นในตอนกลางคืน

50ปีที่ผ่านมากบกว่า500สายพันธุ์ในแถบคอสตาริกาสูญพันธุ์ไปแล้ว1ใน3

50ปีที่ผ่านมา ละมั่งไซก้า ที่เคยมีกว่า2ล้านตัว หากินในแถบทุ่งหญ้าทุนดราในปัจจุบันเหลือเพียงไม่กี่พันตัว เฉลี่ยแล้วจะมีไซก้าตายลงประมาณ109ตัวทุกวัน

ป่าสนไทก้าแถบไซบีเรียที่มีพื้นที่ 148,940,000 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันพบเสือดาวอามัวร์(amur leopard)เพียง30ตัว

ทีมงาน Planet Earth ต้องใช้เวลากว่า2ปีในพื้นที่แถบหิมาลัย ถึงจะเจอเสือดาวหิมะหิมาลัยเพียง2ตัวแม่และลูก

ความคิดที่นำสารพิษเจือจางในน้ำทะเลเพื่อจะลดผลกระทบจากสารเคมีต่อมนุษย์ลงได้เป็นเรื่องจริง มนุษย์ที่บริโภคสัตว์ทะเลหากสัตว์ทะเลตัวนั้นอยู่บนลำดับที่6ของห่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศ ปริมาณสารพิษในตัวสัตว์นทะเลนั้นเท่ากับ 10ยกกำลัง6เท่า ของสารพิษในสิ่งแวดล้อมที่สัตว์ทะเลตัวนั้นอาศัยอยู่

ในปี 1995 มีนักเศรษฐศาสตร์กลุ่มหนึ่งคำนวณค่าใช้จ่ายที่ธรรมชาติให้บริการระบบนิเวศทั้งฟอกอากาศผสมเกสรดอกไม้จัดหาอาหารและน้ำ ฯลฯ ค่าใช้จายหากมนุษย์ต้องลงมือเองอยู่ที่ 50ล้านล้าน US Dollar (ค่าเงินในปี่1995)

ปริมาณป่าฝนทั่วโลกพื้นที่วิกฤตที่สุดคือประเทศไทยและฟิลิปินส์

ถ้าหากอุณหภฺมิของโลกยังสูงขึ้นด้วยอัตราเทียบเท่าปัจจุบันภายใน80ปีพื้นที่แถบศุนย์สูตรเกือบทั้งหมดจะกลายเป็นทะเลทราย และพื้นที่แถบไซบีเรียจะกลายเป็นแหล่งอาศัยของมนุษย์

ผมได้ดูได้ฟังแล้วน้ำตาจะไหล อธิบายความรู้สึกไม่ถูก  เศร้า เศร้า
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: สิงหาคม 20, 2008, 08:17:14 PM โดย Hydra » บันทึกการเข้า
อรชุน-รักในหลวง
หมู่โลหิต O
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1599
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10265


ขาย-อัพเกรด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง


« ตอบ #14 เมื่อ: สิงหาคม 20, 2008, 08:31:13 PM »

ภาพจากเนชันแนลจีโอกราฟฟิก  Grin Grin


เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2550 เรือประมงนิวซีแลนด์จับปลาหมึกยักษ์ได้ที่ทะเลรอส ในมหาสมุทรแอตแลนติก มันมีน้ำหนักถึง 450 กิโลกรัม ดวงตาใหญ่กว่าจานข้าว ลูกเรือต้องใช้เวลากว่า 2 ชั่วโมงถึงจะจับมันได้ จากนั้นลูกเรือนำซากปลาหมึกไปแช่แข็งและนำส่งให้นักวิทยาศาสตร์ที่ อ็อกแลนด์ ยูนิเวอร์ซิตี้ไปศึกษา และถ้านำปลาหมึกตัวนี้ไปทำอาหารจานเด่น 'คาลามารี' หรือนำปลาหมึกหั่นเป็นแว่นแล้วทอด จะได้ปลาหมึกชิ้นเท่าล้อรถยนต์เลยทีเดียว



เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2550 ที่สวนสัตว์เมืองเกาสง เกาะไต้หวัน นายสัตวแพทย์ชาง โป-หยู ให้ยากล่อมประสาทจระเข้พันธุ์ไนล์ แต่ยากล่อมประสาทดูท่าจะไม่เพียงพอ เพราะออกฤทธิ์น้อยเกินไป ทำให้จระเข้น้ำหนัก 200 กิโลกรัมตัวนี้งับมือซ้ายของสัตวแพทย์ผู้นี้จนขาดเป็นที่สยดสยองของผู้ที่อยู่ในเหต ุการณ์ โชคดีที่มือไม่เละ แพทย์สามารถต่อมือซ้ายใหม่ให้ได้โดยใช้เวลาผ่าตัดนาน 7 ชั่วโมง สำหรับจระเข้พันธุ์ไนล์เมื่อโตเต็มที่จะมีความยาว 5 เมตร



เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ.2550 ชาวประมงที่ทะเลแบริ่งในอลาสก้า จับ 'ปลาชอร์ตเทรกเคอร์ร็อกฟิช' ตัวเชื่องได้ และนำไปให้นักวิทยาศาสตร์ตรวจ เมื่อดูไปดูมา นักวิทยาศาสตร์จากสถาบันบรรยากาศและทะเลแห่งสหรัฐหรือ NOAA ฟันธงว่า ปลาร็อกฟิชตัวนี้เป็นเพศเมีย มีอายุราว 90-115 ปี โดยการดูอ ายุปลานั้นดูจากวงแหวนของกระดูกหูในปลา มันมีลำตัวยาว 112 เซนติเมตร น้ำหนัก 27 กิโลกรัม และมีพุงที่ใหญ่มากๆ จากสถิติพบว่า 'ปลาชอร์ตเทรกเคอร์ร็อกฟิช' ที่ตัวใหญ่สุดเท่าที่เคยจับได้มีความยาว 119 เซนติเมตร ส่วนตัวที่ชราที่สุดคือตัวที่มีอายุ 157 ปี



เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.2550 ที่ชายฝั่งทัสมาเนีย ของออสเตรเลีย ผู้ที่เดินเตร็ดเตร่ไปมาที่ชายหาดทางทิศตะวันตกของเกาะทัสมาเนียแจ้งว่า พบซากปลาหมึกยักษ์หรือ 'ว็อปเปอร์' จากนั้นนักวิทยาศาสตร์จากพิพิธภัณฑ์ทัสมาเนียทำการตรวจสอบพบว่า หมึกยักษ์มีน้ำหนัก 250 กิโลกรัม ความยาวทั้งหมด 8 เมตร หรือเท่ากับรถโรงเรียนคันใหญ่ๆ



เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2550 ที่อ่าวโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น พนักงานของอุทยานน้ำโตเกียวซีไลฟ์พาร์กและชาวประมงจับปลาฉลามก็อบบลิน ซึ่งเป็นปลาที่มีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ได้ ฉลามตัวนี้มีความยาว 4.3 ฟุต ว่ายอยู่ในระดับความลึก 500-650 ฟุต จากนั้นอีก 2 วันมันก็ตาย นักวิทยาศาสตร์ยังไม่ค่อยทราบรายละเอียดของฉลามพันธุ์นี้มากนัก แต่ส่วนใหญ่มันจะอาศัยอยู่ใกล้กับพื้นทะเล



นักวิทยาศาสตร์ตั้งสมญานามนกพันธุ์บุชเบิร์ดที่มีจะงอยปากโค้งว่า 'โมนาลิซ่าแห่งนก' เป็นการถ่ายภาพได้ครั้งแรกในรอบ 40 ปี มันอาศัยอยู่แถวเวเนซุเอลาและทางตะวันออกเฉียงเหนือของโคลัมเบีย เหตุที่นกพันธุ์นี้หายหน้าหายตาไปนานเป็นเพราะสภาพป่าเสื่อมโทรมและมีการเผาป่าเพื่อทำไร่ ทำให้นกต้องย้ายถิ่นไปในที่ห่างไกล



เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2550 นักวิทยาศาสตร์จากยูนิเวอร์ซิตี้ ออฟ โอเรกอน เปิดเผยว่า พบฟอสซิลของจระเข้พันธุ์ ธาลัตโตซูเชีย (Thalattosuchia) ที่เทือกเขาบลูเมาเท่น ทางตะวันออกของรัฐโอเรกอน มันมีอายุราว 150-180 ล้านปี ตามปกติแล้วฟอสซิลจระเข้พันธุ์นี้พบในเอเชีย ตั้งแต่ญี่ปุ่นไปจนถึงติมอร์ตะวันออก แต่การที่มันปรากฏให้เห็นในอเมริกาเหนือคาดว่า เกิดขึ้นจากการขยับตัวของแผ่นเปลือกโลกแปซิฟิกชนกับแผ่นเปลือกโลกอเมริกาเหนือ ทำให้ฟอสซิลนี้มาอยู่ที่เทือกเขาบลูเมาเท่น



เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2550 นักวิทยาศาสตร์จากเนชันแนลมิวเซียมสกอตแลนด์ หรือพิพิธภัณฑ์แห่งชาติสกอตแลนด์ ประกาศว่า เสือดาวที่พบในเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา เป็นเสือดาวพันธุ์ใหม่ เนื่องจากพบพันธุกรรมที่แตกต่างไปจากเสือดาวพันธุ์อื่นๆ เสือดาวพันธุ์บอร์เนียนคลาวด์ (the Bornean clouded leopard) มีน้ำหนักประมาณ 23 กิโลกรัม มันชอบกินกิ้งก่า จิ้งเหลน ลิง ไปจนถึงกวางตัวน้อยๆ คาดว่าพวกมันราว 8,000-18,000 ตัวอาศัยอยู่ในพื้นที่อนุรักษ์ของเกาะบอร์เนียว



ชาวเหมืองในรัฐไชอาพาส ประเทศเม็กซิโก พบฟอสซิลกบในอำพันจึงขายให้กับนักสะสม ต่อมานักสะสมนำส่งให้นักวิทยาศาสตร์ตรวจสอบ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์จากสถาบันสิ่งแวดล้อมและประวัติศาสตร์ธรรมชาติไชอาพาส ระบุไปเมื่อเดือนกุมภาพันธุ์ พ.ศ.2550 ว่า ฟอสซิลกบต้นไม้หรือ 'ทรี ฟร็อก' นี้ อาจมีอายุถึง 25 ล้านปี ส่วนอายุกบขณะที่ตายนั้นยังไม่ทราบ



เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2550 นักฮูกพันธุ์ Xenoglaux ได้รับสมญานามว่า 'นกฮูกประหลาด หรือ strange owl' เนื่องจากเป็นพันธุ์หายาก โดยพบที่เขตเทือกเขาในเปรู นักวิทยาศาสตร์พบนกฮูกพันธุ์นี้เป็นครั้งแรกเมื่อพ.ศ2519 มันเป็นนกตัวเล็ก มีตาสีส้มสุกใส





บันทึกการเข้า
หน้า: [1] 2
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.081 วินาที กับ 22 คำสั่ง