เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
ตุลาคม 13, 2024, 09:28:42 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เวบบอร์ดอวป.เป็นเพียงสื่อกลางช่วยให้ผู้ซื้อ และผู้ขาย ได้ติดต่อกันเท่านั้นและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับประโยชน์หรือความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น
ประกาศหรือแบนเนอร์ในเวบไม่ใช่ตัวบ่งชี้ว่าสินค้านั้นมีคุณภาพหรือไม่
โปรดใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจซื้อด้วยตัวเอง
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 2 3 [4] 5 6 7 8
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: หากนำกล๊อคไปยิงบนดวงจันทร์  (อ่าน 8027 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 36 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
ทิดเป้า
Hero Member
*****

คะแนน -1181
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 11916



« ตอบ #45 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 02:03:53 PM »

 ไหว้ไม่กล้าไปอ่ะ...ข่าวว่า ที่ดวงจันทร์ โทษพกพาอาวุธไปในทีที่สาธารณะ...ต้องจำคุก 2 อสงไขยอ่ะ...ไม่ให้ประกันด้วย ไหว้
บันทึกการเข้า

2..U
Hero Member
*****

คะแนน 2094
ออฟไลน์

กระทู้: 15978


Chumpai Club..


« ตอบ #46 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 02:04:42 PM »

ยิงไม่ได้ บนดวงจันทร์ร้อน  กล็อค ละลาย ไปซะก่อน  เอ... ดวงจันทร์ กลางวันอุณภูมิ กี่องศาครับ แล้วกลางคืนกี่องศา  Cheesy

กล็อคเทพจากร้านในตำนานไงท่านลืมแล้วหรอ..โครงโพลิเมอร์อย่างดีจากดาวอังคารตกน้ำไม่ใหลตกไฟไม่ไหม้.. คิก คิก คิก คิก
บันทึกการเข้า

The best way to predict the future is to invent it.
Been
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #47 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 02:05:26 PM »


เดี๋ยวร้านกาแฟเค้ามาอ่านเจอ  คงได้มุขใหม่ๆ "กล๊อคไปยิงบนดวงจันทร์  มาแล้วน่ะ นายจ๋า... "::003::
บันทึกการเข้า
atom_99_atom
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 350
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2172



« ตอบ #48 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 02:55:47 PM »

ยิงไม่ได้ บนดวงจันทร์ร้อน  กล็อค ละลาย ไปซะก่อน  เอ... ดวงจันทร์ กลางวันอุณภูมิ กี่องศาครับ แล้วกลางคืนกี่องศา  Cheesy
มีรายงานว่า การวัดอุณหภูมิพื้นผิวของดวงจันทร์เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2412 ผลของการวัดครั้งนั้นคือ 100 องศาเซลเซียส (ตัวเลขที่แท้จริงในปัจจุบันคือ -163 ถึง 117 องศาเซลเซียส) ครับ
จากตารางคำนวณระยะตกของกระสุน Fed. ยิ่งอุณหภูมิต่ำจะ drop มากกว่าอุหภูมิสูงครับ
แต่อุหภูมิติดลบร้อยกว่าองศา ตารางไม่มีครับ ได้แค่ -99C คิก คิก
บันทึกการเข้า
pb&glock19
ชาว อวป.
Sr. Member
****

คะแนน 33
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 593


"ฟ้าหลังฝน ย่อมสดใสเสมอ"


« ตอบ #49 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 03:14:55 PM »

อยากรู้เหมือนกันว่าจะแม่นเหมือนบนโลกหรือปล่าว   Cheesy
บันทึกการเข้า

ดูคนดี...ดูที่...การกระทำ
ดูผู้นำ...ดูที่...การเสียสละ
คนดี... คิดดี... สังคมดี
น้าพงษ์...รักในหลวง
1911ต้อง.โค้ลท์.ที่เหลือคือก๊อปปี้.ลอกพี่.มะขิ่นครับ
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 508
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 9922


« ตอบ #50 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 03:15:59 PM »

..คิดไกลเนาะ.... คิก คิก....... หัวเราะร่าน้ำตาริน
บันทึกการเข้า

...ประเทศไทย.ไม่ใช่ที่สำหรับใครที่จะมา.ฝึกงาน...
atom_99_atom
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 350
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2172



« ตอบ #51 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 03:19:00 PM »

..คิดไกลเนาะ.... คิก คิก....... หัวเราะร่าน้ำตาริน
น้าพงษ์จะตามไปดวงจันทร์ด้วยหรือเปล่าครับ ตอนนี้เหลือที่นั่ง 1 ที่สุดท้ายแล้วครับผม คิก คิก
บันทึกการเข้า
Pandanus
Hero Member
*****

คะแนน 6378
ออฟไลน์

กระทู้: 40175


เรื่องบังเอิญไม่มีจริง


« ตอบ #52 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 03:21:27 PM »

ผมไม่เอา

เกิดการสันดาปกระสุนบนดวงจันทร์ รุนแรงขนาดนิวเคลียร์ขึ้นมาซักที

จะไปน่ะ ไม่กลัวกันบ้างเหรอ.....  ผมกลัวนะ 
บันทึกการเข้า
jakrit97 - รักในหลวง -
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 164
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5466


Dead boy can't shoot!


« ตอบ #53 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 03:28:06 PM »

ยิงไม่ได้ บนดวงจันทร์ร้อน  กล็อค ละลาย ไปซะก่อน  เอ... ดวงจันทร์ กลางวันอุณภูมิ กี่องศาครับ แล้วกลางคืนกี่องศา  Cheesy
มีรายงานว่า การวัดอุณหภูมิพื้นผิวของดวงจันทร์เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2412 ผลของการวัดครั้งนั้นคือ 100 องศาเซลเซียส (ตัวเลขที่แท้จริงในปัจจุบันคือ -163 ถึง 117 องศาเซลเซียส) ครับ
จากตารางคำนวณระยะตกของกระสุน Fed. ยิ่งอุณหภูมิต่ำจะ drop มากกว่าอุหภูมิสูงครับ
แต่อุหภูมิติดลบร้อยกว่าองศา ตารางไม่มีครับ ได้แค่ -99C คิก คิก

ถ้าดูเรื่องอุณหภูมิ ผมว่าก็เป็นประเด็นจริง ๆ ครับ ....

เพราะอุปกรณ์ทุกอย่างย่อมถูกจำกัดเรื่องอุณหภูมิการใช้งานครับ ....

บนดวงจันทร์ ถ้ากลัวร้อนก็อย่าออกจากเงาไปโดนแดดครับ Grin Grin Grin
บันทึกการเข้า

Pandanus
Hero Member
*****

คะแนน 6378
ออฟไลน์

กระทู้: 40175


เรื่องบังเอิญไม่มีจริง


« ตอบ #54 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 03:34:01 PM »

ทีเรื่องเป็นสาระ เป็นความรู้ล่ะก็   กว่าจะดึ๊บ ๆ ไปได้สักหน้า   ขำก๊าก
บันทึกการเข้า
atom_99_atom
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 350
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2172



« ตอบ #55 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 03:43:10 PM »

ทีเรื่องเป็นสาระ เป็นความรู้ล่ะก็   กว่าจะดึ๊บ ๆ ไปได้สักหน้า   ขำก๊าก
คงกำลังคิดค้นหาคำตอบกันอยู่มั๊งครับ on กันหลายคน ขอ + ให้คนละแต้มก่อนครับ Grin
บันทึกการเข้า
ปาล์มๆ...ซุ่มโป่ง
Hero Member
*****

คะแนน 57
ออฟไลน์

กระทู้: 1891


ทำความดีเพื่อชาติ


« ตอบ #56 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 04:10:40 PM »

น่าจะทดสอบในห้องที่ไม่มีอากาศดูก่อนนะครับ คงไม่ต่างจากดวงจันทร์เท่าไร
บันทึกการเข้า
atom_99_atom
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 350
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2172



« ตอบ #57 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 04:17:22 PM »

อยากรู้เหมือนกันว่าจะแม่นเหมือนบนโลกหรือปล่าว   Cheesy

มีทฤษฎีบางอธิบายอย่างนี้ครับ

          ในภาพที่ 8 แสดงให้เห็นว่า ใน 1 วินาที ดวงจันทร์เคลื่อนที่ไปได้ 1 กิโลเมตร จะถูกโลกดึงดูดให้ตกลงมา 1.4 มิลลิเมตร เมื่อดวงจันทร์โคจรไปได้ 1 เดือน ทั้งแรงตั้งต้นของดวงจันทร์ และแรงโน้มถ่วงของโลก ก็จะทำให้ดวงจันทร์โคจรได้ 1 รอบพอดี เราเรียกการตกเช่นนี้ว่า “การตกแบบอิสระ” (Free fall) อันเป็นหลักการซึ่งมนุษย์นำไปประยุกต์ใช้กับการส่งยานอวกาศ และดาวเทียม ในยุคต่อมา


ภาพที่ 8  การเคลื่อนที่ของดวงจันทร์

          ตอนที่เคปเลอร์ค้นพบกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ซึ่งได้จากผลของการสังเกตการณ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นั้น เขาไม่สามารถอธิบายว่าเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น จวบจนอีกหนึ่งศตวรรษต่อมา นิวตันได้ใช้กฎการแปรผกผันยกกำลังสอง อธิบายเรื่องการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ตามกฎทั้งสามข้อของเคปเลอร์ ดังนี้
          • ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นรูปวงรี เกี่ยวเนื่องจากระยะทางและแรงโน้มถ่วงจากดวงอาทิตย์
          • ในวงโคจรรูปวงรี ดาวเคราะห์จะเคลื่อนที่เร็ว ณ ตำแหน่งใกล้ดวงอาทิตย์ และเคลื่อนที่ช้า ณ ตำแหน่งไกลจากดวงอาทิตย์ เนื่องจากอิทธิพลของระยะห่างระหว่างดวงอาทิตย์
          • ดาวเคราะห์ดวงในเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าดาวเคราะห์ดวงนอก เป็นเพราะว่าอยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์มากกว่า จึงมีแรงโน้มถ่วงระหว่างกันมากกว่า

atom_99 : ดังนั้นหากจินตนาการว่า ยิงด้วย .45 Hydra-Shok JHP หนัก 165 แกรน ไปด้วยความเร็ว 1,060 ฟุต/วินาที (323 ม./วิ) หรือประมาณ 3 วินาทีไปได้ 1 กม.บนดวงจันทร์ ในขณะที่ดวงจันทร์มีอัตราถูกแรงดึงดูดของโลกกระทำ 1.4 มม./กม./วินาที ตามทฤษฎีข้างบน (หรือ 4.2 มม. กว่ากระสุนจะวิ่งไปถึง)
สรุปว่าความแม่นยำบนดวงจันทร์คงไม่เท่ากับแม่นยำบนโลกครับ คิก คิก คิก คิก
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤศจิกายน 04, 2008, 04:36:49 PM โดย atom_99_atom » บันทึกการเข้า
rute - รักในหลวง
Forgive , But not Forget .
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1960
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 22591


"ผลิดอกงามแตกกิ่งใบ..."


« ตอบ #58 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 04:40:20 PM »

ผมคิดว่าท่าน atom_99_atom เปรียบเทียบผิดครับ...

ที่ท่านเปรียบเทียบนั้นเทียบระหว่างเทหวัตถุสองอย่างคือโลกกับดวงจันทร์...

แต่การเคลื่อนที่ของกระสุนบนดวงจันทร์ ถูกแรงกระทำหลักๆจากแรงดึงดูดของดวงจันทร์มากกว่าจากแรงดึงดูดของโลกครับ...

ข้ออื่นที่ผมเห็นค้านคือ ความเร็วของหัวกระสุนที่ใช้คำนวนย่อมไม่เท่ากับความเร็วหัวกระสุนบนโลก...

และขีปณวิถีของหัวกระสุนบนดวงจันทร์ย่อมต่างจากบนโลกครับ...Cheesy
บันทึกการเข้า
rute - รักในหลวง
Forgive , But not Forget .
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1960
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 22591


"ผลิดอกงามแตกกิ่งใบ..."


« ตอบ #59 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2008, 04:42:46 PM »

น่าจะทดสอบในห้องที่ไม่มีอากาศดูก่อนนะครับ คงไม่ต่างจากดวงจันทร์เท่าไร

กรณีนี้น่าจะเรียกว่าสูญญากาศมากกว่าครับ...

แรงโน้มถ่วงยังคงมีเช่นเดิมครับ...Cheesy
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 3 [4] 5 6 7 8
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.049 วินาที กับ 22 คำสั่ง