เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
พฤศจิกายน 17, 2024, 03:28:06 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เวบบอร์ดอวป.เป็นเพียงสื่อกลางช่วยให้ผู้ซื้อ และผู้ขาย ได้ติดต่อกันเท่านั้นและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับประโยชน์หรือความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น
ประกาศหรือแบนเนอร์ในเวบไม่ใช่ตัวบ่งชี้ว่าสินค้านั้นมีคุณภาพหรือไม่
โปรดใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจซื้อด้วยตัวเอง
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1] 2
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ถามฮาร์ดโคมและโครมเมี่ยม ขอบคุณครับ  (อ่าน 11518 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 2 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
hangman
Newbie
*

คะแนน 0
ออฟไลน์

กระทู้: 5


« เมื่อ: ธันวาคม 25, 2008, 08:05:43 PM »

คือผมจะนำปืนไปทำฮาร์ดโคม แต่ทีนี้ไปได้ยินกับคำว่า ชุบโครเมี่ยมเลยอยากถามว่าเหมือนกันไหม๊
แล้วอย่างไหนจะดีกว่ากัน ด้อยหรือ ดีต่างกันอย่างไรครับ  ขอบคุณ มาก  ๆ ๆครับ
บันทึกการเข้า
c.tong - รักในหลวง
Hero Member
*****

คะแนน 205
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2739


ป่าต้นน้ำ คือ ชีวิต


« ตอบ #1 เมื่อ: ธันวาคม 25, 2008, 08:18:32 PM »

ปืนต้องทำฮาร์ดโครมครับ อย่านำไปชุบโครเมี่ยม การชุบโครเมี่ยมมันจะเคลือบผิวโลหะแบบหนา
ถ้าทำฮาร์ดโครมมันจะเป็นลักษณะเปลี่ยนสีผิวโลหะมีความหนาเพิ่มขึ้นเหมือนฟิล์มบางๆ ครับ
บันทึกการเข้า

" ไม่มีความสุขใด ดีไปกว่าการใช้ชีวิต อย่างพอประมาณ "

รวมพล คนคบ .38 SUPER
http://www.gunsandgames.com/smf/index.php?topic=61789.0
BANGRACHAN
ชาว อวป.
Sr. Member
****

คะแนน 176
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 637


ขอเป็นข้ารองพระบาททุกชาติไป


« ตอบ #2 เมื่อ: ธันวาคม 25, 2008, 08:56:26 PM »

ฮาร์ดโครมนั่นก็คือ โครเมี่ยมอย่างบางครับ...
การชุบฮาร์ดโครม

เมื่อชิ้นส่วนเครื่องจักรเริ่มมีการสึกกร่อนหรือเกิดรอยแตกขึ้น ผู้เป็นเจ้าของจำนวนไม่น้อย ที่ตัดสินใจปลดมันออกจากหน้าที่และหาซื้อชิ้นส่วนตัวใหม่มาแทน ซึ่งทุกคนต่างก็ทราบดีว่าการหยุดเครื่อง เพื่อรออะไหล่ตัวใหม่มาเปลี่ยนนั้น ทำให้เกิดการสูญเสียทางการผลิต ซึ่งแน่นอนว่าต้องกระทบถึงผลกำไรที่จะตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อเป็นการประหยัดทั้งเงินและเวลา “การชุบฮาร์ดโครม” จึงเป็นทางออกที่ไม่ควรมองข้าม เพราะนอกจากจะช่วยลดเงินและเวลาที่ต้องหมดไปกับการรอชิ้นส่วนใหม่แล้ว ประสิทธิภาพการทำงานของชิ้นส่วนที่ผ่านการชุบฮาร์ดโครมยังดีเยี่ยมไม่แตกต่างจากของใหม่อีกด้วย


การชุบฮาร์ดโครม เป็นวิธีการเคลือบเชิงไฟฟ้า (Electrolytic Deposition) โดยใช้โครเมียม ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะกับงานเชิงวิศวกรรม วัตถุที่นิยมนำมาชุบส่วนใหญ่จะเป็นเหล็กกล้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหล็กกล้าชุบแข็ง การชุบฮาร์ดโครมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ การชุบอย่างบางและการชุบหนา “การชุบอย่างบาง” เป็นการชุบเพื่อยืดอายุการใช้งานของชิ้นส่วนเครื่องจักรกล ที่มักใช้ในงานที่มีอัตราความเสี่ยงต่อการสึกกร่อนสูง หรืองานที่อยู่ในสภาพที่มีการกัดกร่อนทางเคมี สำหรับ “การชุบหนา” เป็นการชุบเพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนอะไหล่ที่ชำรุดเสียหาย ให้กลับมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพดังเดิม ตัวอย่างชิ้นส่วนที่นำมาชุบฮาร์ดโครม เช่น กระบอกสูบไฮดรอลิก (Hydraulic cylinder) ด้ามลูกสูบ (Pump shafts) ใบพัด (Rotors) ลูกโม่ (Rollers) วงแหวนลูกสูบ (Piston ring) ผิวด้านนอกเบ้าหล่อ (Mold surfaces) แม่พิมพ์ตอกโลหะ (Dies) ตะปูควง (Screws) เข็มร้อยด้าย (Thread guides) และลำกล้องปืน (Gun bores) เป็นต้น

Hard Chrome
การชุบโครเมี่ยมอย่างแข็งหรือที่เรียกกันว่า Hard Chrome นั้น เป็นการชุบโครเมี่ยมสำหรับชิ้นงานที่ต้องการความแข็งแรง ความเรียบเป็นเงาและพิกัดความหนา เพื่อให้ทนทานในการใช้งาน เช่น ทนต่อแรงเสียดทานทนต่อความร้อน ทนต่อการกัดกร่อน นอกจากนี้ การชุบฮาร์ดโครมนั้นสามารถชุบพอกหนาลงบนชิ้นงานที่สึกหรอจากการ ใช้งานมาแล้วให้มีขนาดเท่าเดิมได้ หรือชุบให้โตกว่าเดิมแล้วนำไปเจียระไนให้มีขนาดเท่าเดิมได้ การชุบโครเมี่ยมอย่างแข็งนี้สามารถชุบให้แข็งได้ถึง 70 Rocwell C หรือ 800 Brinell ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ Hard Chrome ชิ้นงานที่มักนำมาชุบ ฮาร์ดโครม ได้แก่ แม่พิมพ์ (Mold) ชิ้นส่วนเครื่องจักร แหวนลูกสูบ กระบอกสูบ เพลาข้อเหวี่ยง แกนไฮดรอลิก เป็นต้น
     
คุณสมบัติทั่วไป ของชิ้นงานที่ชุบโครเมี่ยมอย่างแข็ง (Hard Chrome)
         1. มีความแข็งแรงและทนทาน
         2. ทนต่อการเกิดสนิมและทนต่อความร้อน
         3. สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานต่ำ
         4. ได้พื้นผิวที่สวยงาม เรียบ และขึ้นเงา
         5. ใช้แม่เหล็กดูดได้ (Paramagnetic)


คุณสมบัติ:

ค่าความแข็งสูง (High Hardness)
ต้านทานการสึกกร่อนได้ดี (Good Wear Resistance)
ต้านทานการกัดกร่อนจากสารเคมีได้ดี (Good Corrosion Resistance)
สัมประสิทธิ์การเสียดทานต่ำ (Low Coefficient of Friction)
ใช้อุณหภูมิในการซ่อมแซมต่ำ (Low Temperature Treatment )
คุณสมบัติทางกายภาพ:

ค่าความหนาแน่น: 7.1 kg/dm3
เลขอะตอม: 24
ลักษณะการจับตัวของผลึก: Body Centre Cubic
ค่าความแข็ง: 850-1050 HV or 65-70 Rockwell C
จุดหลอมเหลว: 1890oC
สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน: 6 x 10
สัมประสิทธิ์ความต้านทาน: 13 Micro hms/cm
การนำความร้อน: 0.67 W/cm oK
ความต้านทานไฟฟ้า: 13-66 Micro hm/cm
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 25, 2008, 09:33:43 PM โดย BANGRACHAN » บันทึกการเข้า
nongCZ
Newbie
*

คะแนน 0
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 8



« ตอบ #3 เมื่อ: ธันวาคม 25, 2008, 09:00:30 PM »

 Grin แล้วอยู่ทน ลอกมั๊ยครับ ถ้าเทียบกับ รมดำ อันไหนทนกว่าครับ
บันทึกการเข้า
c.tong - รักในหลวง
Hero Member
*****

คะแนน 205
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2739


ป่าต้นน้ำ คือ ชีวิต


« ตอบ #4 เมื่อ: ธันวาคม 25, 2008, 09:00:38 PM »

ชุบฮาร์ดโครม กับ ชุบโครเมี่ยม ไม่เหมือนกันนะครับ
บันทึกการเข้า

" ไม่มีความสุขใด ดีไปกว่าการใช้ชีวิต อย่างพอประมาณ "

รวมพล คนคบ .38 SUPER
http://www.gunsandgames.com/smf/index.php?topic=61789.0
atom_99_atom
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 350
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2172



« ตอบ #5 เมื่อ: ธันวาคม 25, 2008, 10:54:49 PM »

ปืนดีๆ เอาไปชุปโครเมี่ยมจะกลายเป็น "โหล" ไปเลยนะขอรับ
หากทำพื้นผิวไม่ดีเวลาลอกออกเป็นแผ่นๆ ครับ
รมดำดั้งเดิม ขลังดีกว่านะ ผมว่า
บันทึกการเข้า
Ki-jang-aey
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 62
ออฟไลน์

กระทู้: 363


« ตอบ #6 เมื่อ: ธันวาคม 25, 2008, 11:46:19 PM »

ฮาร์ดโครมนั่นก็คือ โครเมี่ยมอย่างบางครับ...
การชุบฮาร์ดโครม

เมื่อชิ้นส่วนเครื่องจักรเริ่มมีการสึกกร่อนหรือเกิดรอยแตกขึ้น ผู้เป็นเจ้าของจำนวนไม่น้อย ที่ตัดสินใจปลดมันออกจากหน้าที่และหาซื้อชิ้นส่วนตัวใหม่มาแทน ซึ่งทุกคนต่างก็ทราบดีว่าการหยุดเครื่อง เพื่อรออะไหล่ตัวใหม่มาเปลี่ยนนั้น ทำให้เกิดการสูญเสียทางการผลิต ซึ่งแน่นอนว่าต้องกระทบถึงผลกำไรที่จะตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อเป็นการประหยัดทั้งเงินและเวลา “การชุบฮาร์ดโครม” จึงเป็นทางออกที่ไม่ควรมองข้าม เพราะนอกจากจะช่วยลดเงินและเวลาที่ต้องหมดไปกับการรอชิ้นส่วนใหม่แล้ว ประสิทธิภาพการทำงานของชิ้นส่วนที่ผ่านการชุบฮาร์ดโครมยังดีเยี่ยมไม่แตกต่างจากของใหม่อีกด้วย


การชุบฮาร์ดโครม เป็นวิธีการเคลือบเชิงไฟฟ้า (Electrolytic Deposition) โดยใช้โครเมียม ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะกับงานเชิงวิศวกรรม วัตถุที่นิยมนำมาชุบส่วนใหญ่จะเป็นเหล็กกล้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหล็กกล้าชุบแข็ง การชุบฮาร์ดโครมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ การชุบอย่างบางและการชุบหนา “การชุบอย่างบาง” เป็นการชุบเพื่อยืดอายุการใช้งานของชิ้นส่วนเครื่องจักรกล ที่มักใช้ในงานที่มีอัตราความเสี่ยงต่อการสึกกร่อนสูง หรืองานที่อยู่ในสภาพที่มีการกัดกร่อนทางเคมี สำหรับ “การชุบหนา” เป็นการชุบเพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนอะไหล่ที่ชำรุดเสียหาย ให้กลับมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพดังเดิม ตัวอย่างชิ้นส่วนที่นำมาชุบฮาร์ดโครม เช่น กระบอกสูบไฮดรอลิก (Hydraulic cylinder) ด้ามลูกสูบ (Pump shafts) ใบพัด (Rotors) ลูกโม่ (Rollers) วงแหวนลูกสูบ (Piston ring) ผิวด้านนอกเบ้าหล่อ (Mold surfaces) แม่พิมพ์ตอกโลหะ (Dies) ตะปูควง (Screws) เข็มร้อยด้าย (Thread guides) และลำกล้องปืน (Gun bores) เป็นต้น

Hard Chrome
การชุบโครเมี่ยมอย่างแข็งหรือที่เรียกกันว่า Hard Chrome นั้น เป็นการชุบโครเมี่ยมสำหรับชิ้นงานที่ต้องการความแข็งแรง ความเรียบเป็นเงาและพิกัดความหนา เพื่อให้ทนทานในการใช้งาน เช่น ทนต่อแรงเสียดทานทนต่อความร้อน ทนต่อการกัดกร่อน นอกจากนี้ การชุบฮาร์ดโครมนั้นสามารถชุบพอกหนาลงบนชิ้นงานที่สึกหรอจากการ ใช้งานมาแล้วให้มีขนาดเท่าเดิมได้ หรือชุบให้โตกว่าเดิมแล้วนำไปเจียระไนให้มีขนาดเท่าเดิมได้ การชุบโครเมี่ยมอย่างแข็งนี้สามารถชุบให้แข็งได้ถึง 70 Rocwell C หรือ 800 Brinell ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ Hard Chrome ชิ้นงานที่มักนำมาชุบ ฮาร์ดโครม ได้แก่ แม่พิมพ์ (Mold) ชิ้นส่วนเครื่องจักร แหวนลูกสูบ กระบอกสูบ เพลาข้อเหวี่ยง แกนไฮดรอลิก เป็นต้น
    
คุณสมบัติทั่วไป ของชิ้นงานที่ชุบโครเมี่ยมอย่างแข็ง (Hard Chrome)
         1. มีความแข็งแรงและทนทาน
         2. ทนต่อการเกิดสนิมและทนต่อความร้อน
         3. สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานต่ำ
         4. ได้พื้นผิวที่สวยงาม เรียบ และขึ้นเงา
         5. ใช้แม่เหล็กดูดได้ (Paramagnetic)


คุณสมบัติ:

ค่าความแข็งสูง (High Hardness)
ต้านทานการสึกกร่อนได้ดี (Good Wear Resistance)
ต้านทานการกัดกร่อนจากสารเคมีได้ดี (Good Corrosion Resistance)
สัมประสิทธิ์การเสียดทานต่ำ (Low Coefficient of Friction)
ใช้อุณหภูมิในการซ่อมแซมต่ำ (Low Temperature Treatment )
คุณสมบัติทางกายภาพ:

ค่าความหนาแน่น: 7.1 kg/dm3
เลขอะตอม: 24
ลักษณะการจับตัวของผลึก: Body Centre Cubic
ค่าความแข็ง: 850-1050 HV or 65-70 Rockwell C
จุดหลอมเหลว: 1890oC
สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน: 6 x 10
สัมประสิทธิ์ความต้านทาน: 13 Micro hms/cm
การนำความร้อน: 0.67 W/cm oK
ความต้านทานไฟฟ้า: 13-66 Micro hm/cm

ขอบคุณครับ.....ได้ความรู้เพิ่มเพียบเลย..
บันทึกการเข้า
SON171
Sr. Member
****

คะแนน 39
ออฟไลน์

กระทู้: 613



« ตอบ #7 เมื่อ: ธันวาคม 25, 2008, 11:59:21 PM »

ฮาร์ดโครมนั่นก็คือ โครเมี่ยมอย่างบางครับ...
การชุบฮาร์ดโครม

เมื่อชิ้นส่วนเครื่องจักรเริ่มมีการสึกกร่อนหรือเกิดรอยแตกขึ้น ผู้เป็นเจ้าของจำนวนไม่น้อย ที่ตัดสินใจปลดมันออกจากหน้าที่และหาซื้อชิ้นส่วนตัวใหม่มาแทน ซึ่งทุกคนต่างก็ทราบดีว่าการหยุดเครื่อง เพื่อรออะไหล่ตัวใหม่มาเปลี่ยนนั้น ทำให้เกิดการสูญเสียทางการผลิต ซึ่งแน่นอนว่าต้องกระทบถึงผลกำไรที่จะตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อเป็นการประหยัดทั้งเงินและเวลา “การชุบฮาร์ดโครม” จึงเป็นทางออกที่ไม่ควรมองข้าม เพราะนอกจากจะช่วยลดเงินและเวลาที่ต้องหมดไปกับการรอชิ้นส่วนใหม่แล้ว ประสิทธิภาพการทำงานของชิ้นส่วนที่ผ่านการชุบฮาร์ดโครมยังดีเยี่ยมไม่แตกต่างจากของใหม่อีกด้วย


การชุบฮาร์ดโครม เป็นวิธีการเคลือบเชิงไฟฟ้า (Electrolytic Deposition) โดยใช้โครเมียม ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะกับงานเชิงวิศวกรรม วัตถุที่นิยมนำมาชุบส่วนใหญ่จะเป็นเหล็กกล้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหล็กกล้าชุบแข็ง การชุบฮาร์ดโครมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ การชุบอย่างบางและการชุบหนา “การชุบอย่างบาง” เป็นการชุบเพื่อยืดอายุการใช้งานของชิ้นส่วนเครื่องจักรกล ที่มักใช้ในงานที่มีอัตราความเสี่ยงต่อการสึกกร่อนสูง หรืองานที่อยู่ในสภาพที่มีการกัดกร่อนทางเคมี สำหรับ “การชุบหนา” เป็นการชุบเพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนอะไหล่ที่ชำรุดเสียหาย ให้กลับมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพดังเดิม ตัวอย่างชิ้นส่วนที่นำมาชุบฮาร์ดโครม เช่น กระบอกสูบไฮดรอลิก (Hydraulic cylinder) ด้ามลูกสูบ (Pump shafts) ใบพัด (Rotors) ลูกโม่ (Rollers) วงแหวนลูกสูบ (Piston ring) ผิวด้านนอกเบ้าหล่อ (Mold surfaces) แม่พิมพ์ตอกโลหะ (Dies) ตะปูควง (Screws) เข็มร้อยด้าย (Thread guides) และลำกล้องปืน (Gun bores) เป็นต้น

Hard Chrome
การชุบโครเมี่ยมอย่างแข็งหรือที่เรียกกันว่า Hard Chrome นั้น เป็นการชุบโครเมี่ยมสำหรับชิ้นงานที่ต้องการความแข็งแรง ความเรียบเป็นเงาและพิกัดความหนา เพื่อให้ทนทานในการใช้งาน เช่น ทนต่อแรงเสียดทานทนต่อความร้อน ทนต่อการกัดกร่อน นอกจากนี้ การชุบฮาร์ดโครมนั้นสามารถชุบพอกหนาลงบนชิ้นงานที่สึกหรอจากการ ใช้งานมาแล้วให้มีขนาดเท่าเดิมได้ หรือชุบให้โตกว่าเดิมแล้วนำไปเจียระไนให้มีขนาดเท่าเดิมได้ การชุบโครเมี่ยมอย่างแข็งนี้สามารถชุบให้แข็งได้ถึง 70 Rocwell C หรือ 800 Brinell ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ Hard Chrome ชิ้นงานที่มักนำมาชุบ ฮาร์ดโครม ได้แก่ แม่พิมพ์ (Mold) ชิ้นส่วนเครื่องจักร แหวนลูกสูบ กระบอกสูบ เพลาข้อเหวี่ยง แกนไฮดรอลิก เป็นต้น
    
คุณสมบัติทั่วไป ของชิ้นงานที่ชุบโครเมี่ยมอย่างแข็ง (Hard Chrome)
         1. มีความแข็งแรงและทนทาน
         2. ทนต่อการเกิดสนิมและทนต่อความร้อน
         3. สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานต่ำ
         4. ได้พื้นผิวที่สวยงาม เรียบ และขึ้นเงา
         5. ใช้แม่เหล็กดูดได้ (Paramagnetic)


คุณสมบัติ:

ค่าความแข็งสูง (High Hardness)
ต้านทานการสึกกร่อนได้ดี (Good Wear Resistance)
ต้านทานการกัดกร่อนจากสารเคมีได้ดี (Good Corrosion Resistance)
สัมประสิทธิ์การเสียดทานต่ำ (Low Coefficient of Friction)
ใช้อุณหภูมิในการซ่อมแซมต่ำ (Low Temperature Treatment )
คุณสมบัติทางกายภาพ:

ค่าความหนาแน่น: 7.1 kg/dm3
เลขอะตอม: 24
ลักษณะการจับตัวของผลึก: Body Centre Cubic
ค่าความแข็ง: 850-1050 HV or 65-70 Rockwell C
จุดหลอมเหลว: 1890oC
สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน: 6 x 10
สัมประสิทธิ์ความต้านทาน: 13 Micro hms/cm
การนำความร้อน: 0.67 W/cm oK
ความต้านทานไฟฟ้า: 13-66 Micro hm/cm

+1 ครับ
ขอถามอีกนิด มีช่างดีๆแนะนำไหมครับ คือ จะเอาไปทำบ้าง
บันทึกการเข้า

ทำหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด เคารพสิทธิเสรีภาพของคนอื่นให้มากที่สุด แล้วสังคมจะดีเอง
ป้อมทอง พรานชุมไพร
ดับบาป ด้วยบุญปืน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 780
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6885


นรชาติวางวาย สถิตย์ไว้ แต่ความดีประดับไว้โลกา


« ตอบ #8 เมื่อ: ธันวาคม 26, 2008, 12:56:42 AM »

ช่างปืนทุกร้าน  ไม่สามารถชุบฮาร์คโครมได้   ต้องส่งชุบทั้งนั้น

แต่จะชุบดีหรือไม่   อยู่ที่การเตรียมชิ้นงานในการชุบ   ซึ่งขั้นตอนนี้

ถ้าช่างปืนฝีมือดี    เป็นผู้เตรียมชิ้นงาน   งานออกมาย่อมจะสวยงาม
บันทึกการเข้า

รักกันไว้เถอะ  เราเกิดร่วมแดนไทย   จะเกิดภาคไหนๆ    ก็ไทยด้วยกัน      
เชื้อสายประเพณีไม่มีขีดคั่น        เกิดเป็นไทยนั้นปวงชนทุกคนคือไทย
c.tong - รักในหลวง
Hero Member
*****

คะแนน 205
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2739


ป่าต้นน้ำ คือ ชีวิต


« ตอบ #9 เมื่อ: ธันวาคม 26, 2008, 02:34:19 AM »

ฮาร์ดโครมนั่นก็คือ โครเมี่ยมอย่างบางครับ...
การชุบฮาร์ดโครม

เมื่อชิ้นส่วนเครื่องจักรเริ่มมีการสึกกร่อนหรือเกิดรอยแตกขึ้น ผู้เป็นเจ้าของจำนวนไม่น้อย ที่ตัดสินใจปลดมันออกจากหน้าที่และหาซื้อชิ้นส่วนตัวใหม่มาแทน ซึ่งทุกคนต่างก็ทราบดีว่าการหยุดเครื่อง เพื่อรออะไหล่ตัวใหม่มาเปลี่ยนนั้น ทำให้เกิดการสูญเสียทางการผลิต ซึ่งแน่นอนว่าต้องกระทบถึงผลกำไรที่จะตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อเป็นการประหยัดทั้งเงินและเวลา “การชุบฮาร์ดโครม” จึงเป็นทางออกที่ไม่ควรมองข้าม เพราะนอกจากจะช่วยลดเงินและเวลาที่ต้องหมดไปกับการรอชิ้นส่วนใหม่แล้ว ประสิทธิภาพการทำงานของชิ้นส่วนที่ผ่านการชุบฮาร์ดโครมยังดีเยี่ยมไม่แตกต่างจากของใหม่อีกด้วย


การชุบฮาร์ดโครม เป็นวิธีการเคลือบเชิงไฟฟ้า (Electrolytic Deposition) โดยใช้โครเมียม ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะกับงานเชิงวิศวกรรม วัตถุที่นิยมนำมาชุบส่วนใหญ่จะเป็นเหล็กกล้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหล็กกล้าชุบแข็ง การชุบฮาร์ดโครมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ การชุบอย่างบางและการชุบหนา “การชุบอย่างบาง” เป็นการชุบเพื่อยืดอายุการใช้งานของชิ้นส่วนเครื่องจักรกล ที่มักใช้ในงานที่มีอัตราความเสี่ยงต่อการสึกกร่อนสูง หรืองานที่อยู่ในสภาพที่มีการกัดกร่อนทางเคมี สำหรับ “การชุบหนา” เป็นการชุบเพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนอะไหล่ที่ชำรุดเสียหาย ให้กลับมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพดังเดิม ตัวอย่างชิ้นส่วนที่นำมาชุบฮาร์ดโครม เช่น กระบอกสูบไฮดรอลิก (Hydraulic cylinder) ด้ามลูกสูบ (Pump shafts) ใบพัด (Rotors) ลูกโม่ (Rollers) วงแหวนลูกสูบ (Piston ring) ผิวด้านนอกเบ้าหล่อ (Mold surfaces) แม่พิมพ์ตอกโลหะ (Dies) ตะปูควง (Screws) เข็มร้อยด้าย (Thread guides) และลำกล้องปืน (Gun bores) เป็นต้น

Hard Chrome
การชุบโครเมี่ยมอย่างแข็งหรือที่เรียกกันว่า Hard Chrome นั้น เป็นการชุบโครเมี่ยมสำหรับชิ้นงานที่ต้องการความแข็งแรง ความเรียบเป็นเงาและพิกัดความหนา เพื่อให้ทนทานในการใช้งาน เช่น ทนต่อแรงเสียดทานทนต่อความร้อน ทนต่อการกัดกร่อน นอกจากนี้ การชุบฮาร์ดโครมนั้นสามารถชุบพอกหนาลงบนชิ้นงานที่สึกหรอจากการ ใช้งานมาแล้วให้มีขนาดเท่าเดิมได้ หรือชุบให้โตกว่าเดิมแล้วนำไปเจียระไนให้มีขนาดเท่าเดิมได้ การชุบโครเมี่ยมอย่างแข็งนี้สามารถชุบให้แข็งได้ถึง 70 Rocwell C หรือ 800 Brinell ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ Hard Chrome ชิ้นงานที่มักนำมาชุบ ฮาร์ดโครม ได้แก่ แม่พิมพ์ (Mold) ชิ้นส่วนเครื่องจักร แหวนลูกสูบ กระบอกสูบ เพลาข้อเหวี่ยง แกนไฮดรอลิก เป็นต้น
    
คุณสมบัติทั่วไป ของชิ้นงานที่ชุบโครเมี่ยมอย่างแข็ง (Hard Chrome)
         1. มีความแข็งแรงและทนทาน
         2. ทนต่อการเกิดสนิมและทนต่อความร้อน
         3. สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานต่ำ
         4. ได้พื้นผิวที่สวยงาม เรียบ และขึ้นเงา
         5. ใช้แม่เหล็กดูดได้ (Paramagnetic)


คุณสมบัติ:

ค่าความแข็งสูง (High Hardness)
ต้านทานการสึกกร่อนได้ดี (Good Wear Resistance)
ต้านทานการกัดกร่อนจากสารเคมีได้ดี (Good Corrosion Resistance)
สัมประสิทธิ์การเสียดทานต่ำ (Low Coefficient of Friction)
ใช้อุณหภูมิในการซ่อมแซมต่ำ (Low Temperature Treatment )
คุณสมบัติทางกายภาพ:

ค่าความหนาแน่น: 7.1 kg/dm3
เลขอะตอม: 24
ลักษณะการจับตัวของผลึก: Body Centre Cubic
ค่าความแข็ง: 850-1050 HV or 65-70 Rockwell C
จุดหลอมเหลว: 1890oC
สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน: 6 x 10
สัมประสิทธิ์ความต้านทาน: 13 Micro hms/cm
การนำความร้อน: 0.67 W/cm oK
ความต้านทานไฟฟ้า: 13-66 Micro hm/cm


นั้นเป็นข้อมูลการชุบฮาร์ดโครมของ บริษัท เทคโครม จำกัด ครับผมเปิดอ่านดูแล้ว
ลองเอาลำกล้องปืนไปชุบโครเมียมดูนะครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 26, 2008, 02:49:13 AM โดย c.tong » บันทึกการเข้า

" ไม่มีความสุขใด ดีไปกว่าการใช้ชีวิต อย่างพอประมาณ "

รวมพล คนคบ .38 SUPER
http://www.gunsandgames.com/smf/index.php?topic=61789.0
คนส่องกล้อง
ปัจจตัง
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 158
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1805



« ตอบ #10 เมื่อ: ธันวาคม 26, 2008, 08:27:06 AM »

ฮาร์ดโครมนั่นก็คือ โครเมี่ยมอย่างบางครับ...
การชุบฮาร์ดโครม

เมื่อชิ้นส่วนเครื่องจักรเริ่มมีการสึกกร่อนหรือเกิดรอยแตกขึ้น ผู้เป็นเจ้าของจำนวนไม่น้อย ที่ตัดสินใจปลดมันออกจากหน้าที่และหาซื้อชิ้นส่วนตัวใหม่มาแทน ซึ่งทุกคนต่างก็ทราบดีว่าการหยุดเครื่อง เพื่อรออะไหล่ตัวใหม่มาเปลี่ยนนั้น ทำให้เกิดการสูญเสียทางการผลิต ซึ่งแน่นอนว่าต้องกระทบถึงผลกำไรที่จะตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อเป็นการประหยัดทั้งเงินและเวลา “การชุบฮาร์ดโครม” จึงเป็นทางออกที่ไม่ควรมองข้าม เพราะนอกจากจะช่วยลดเงินและเวลาที่ต้องหมดไปกับการรอชิ้นส่วนใหม่แล้ว ประสิทธิภาพการทำงานของชิ้นส่วนที่ผ่านการชุบฮาร์ดโครมยังดีเยี่ยมไม่แตกต่างจากของใหม่อีกด้วย


การชุบฮาร์ดโครม เป็นวิธีการเคลือบเชิงไฟฟ้า (Electrolytic Deposition) โดยใช้โครเมียม ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะกับงานเชิงวิศวกรรม วัตถุที่นิยมนำมาชุบส่วนใหญ่จะเป็นเหล็กกล้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหล็กกล้าชุบแข็ง การชุบฮาร์ดโครมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ การชุบอย่างบางและการชุบหนา “การชุบอย่างบาง” เป็นการชุบเพื่อยืดอายุการใช้งานของชิ้นส่วนเครื่องจักรกล ที่มักใช้ในงานที่มีอัตราความเสี่ยงต่อการสึกกร่อนสูง หรืองานที่อยู่ในสภาพที่มีการกัดกร่อนทางเคมี สำหรับ “การชุบหนา” เป็นการชุบเพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนอะไหล่ที่ชำรุดเสียหาย ให้กลับมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพดังเดิม ตัวอย่างชิ้นส่วนที่นำมาชุบฮาร์ดโครม เช่น กระบอกสูบไฮดรอลิก (Hydraulic cylinder) ด้ามลูกสูบ (Pump shafts) ใบพัด (Rotors) ลูกโม่ (Rollers) วงแหวนลูกสูบ (Piston ring) ผิวด้านนอกเบ้าหล่อ (Mold surfaces) แม่พิมพ์ตอกโลหะ (Dies) ตะปูควง (Screws) เข็มร้อยด้าย (Thread guides) และลำกล้องปืน (Gun bores) เป็นต้น

Hard Chrome
การชุบโครเมี่ยมอย่างแข็งหรือที่เรียกกันว่า Hard Chrome นั้น เป็นการชุบโครเมี่ยมสำหรับชิ้นงานที่ต้องการความแข็งแรง ความเรียบเป็นเงาและพิกัดความหนา เพื่อให้ทนทานในการใช้งาน เช่น ทนต่อแรงเสียดทานทนต่อความร้อน ทนต่อการกัดกร่อน นอกจากนี้ การชุบฮาร์ดโครมนั้นสามารถชุบพอกหนาลงบนชิ้นงานที่สึกหรอจากการ ใช้งานมาแล้วให้มีขนาดเท่าเดิมได้ หรือชุบให้โตกว่าเดิมแล้วนำไปเจียระไนให้มีขนาดเท่าเดิมได้ การชุบโครเมี่ยมอย่างแข็งนี้สามารถชุบให้แข็งได้ถึง 70 Rocwell C หรือ 800 Brinell ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ Hard Chrome ชิ้นงานที่มักนำมาชุบ ฮาร์ดโครม ได้แก่ แม่พิมพ์ (Mold) ชิ้นส่วนเครื่องจักร แหวนลูกสูบ กระบอกสูบ เพลาข้อเหวี่ยง แกนไฮดรอลิก เป็นต้น
    
คุณสมบัติทั่วไป ของชิ้นงานที่ชุบโครเมี่ยมอย่างแข็ง (Hard Chrome)
         1. มีความแข็งแรงและทนทาน
         2. ทนต่อการเกิดสนิมและทนต่อความร้อน
         3. สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานต่ำ
         4. ได้พื้นผิวที่สวยงาม เรียบ และขึ้นเงา
         5. ใช้แม่เหล็กดูดได้ (Paramagnetic)


คุณสมบัติ:

ค่าความแข็งสูง (High Hardness)
ต้านทานการสึกกร่อนได้ดี (Good Wear Resistance)
ต้านทานการกัดกร่อนจากสารเคมีได้ดี (Good Corrosion Resistance)
สัมประสิทธิ์การเสียดทานต่ำ (Low Coefficient of Friction)
ใช้อุณหภูมิในการซ่อมแซมต่ำ (Low Temperature Treatment )
คุณสมบัติทางกายภาพ:

ค่าความหนาแน่น: 7.1 kg/dm3
เลขอะตอม: 24
ลักษณะการจับตัวของผลึก: Body Centre Cubic
ค่าความแข็ง: 850-1050 HV or 65-70 Rockwell C
จุดหลอมเหลว: 1890oC
สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน: 6 x 10
สัมประสิทธิ์ความต้านทาน: 13 Micro hms/cm
การนำความร้อน: 0.67 W/cm oK
ความต้านทานไฟฟ้า: 13-66 Micro hm/cm


นั้นเป็นข้อมูลการชุบฮาร์ดโครมของ บริษัท เทคโครม จำกัด ครับผมเปิดอ่านดูแล้ว
ลองเอาลำกล้องปืนไปชุบโครเมียมดูนะครับ

                 หมายความว่าอย่างไร ครับ
บันทึกการเข้า

hangman
Newbie
*

คะแนน 0
ออฟไลน์

กระทู้: 5


« ตอบ #11 เมื่อ: ธันวาคม 26, 2008, 10:15:11 AM »

ขอบคุณพี่ ๆ มากเลยครับ ได้ความรู้เพิ่มอีกหนึ่งและ ดีจัง....
บันทึกการเข้า
c.tong - รักในหลวง
Hero Member
*****

คะแนน 205
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2739


ป่าต้นน้ำ คือ ชีวิต


« ตอบ #12 เมื่อ: ธันวาคม 26, 2008, 02:49:25 PM »

ฮาร์ดโครมนั่นก็คือ โครเมี่ยมอย่างบางครับ...



นั้นเป็นข้อมูลการชุบฮาร์ดโครมของ บริษัท เทคโครม จำกัด ครับผมเปิดอ่านดูแล้ว
ลองเอาลำกล้องปืนไปชุบโครเมียมดูนะครับ

                 หมายความว่าอย่างไร ครับ

หมายความว่าการชุบฮาร์ดโครมกับการชุบโครเมียมอาจจะเหมือนกันแต่วิธีทำต่างกันมากนะครับ
การชุบโครเมียมเป็นการเคลือบผิว ถ้าทำไม่ดีสามารถลอกออกเป็นแผ่นได้ เช่น การชุบโครเมียมกับลำกล้องยิ่งไม่ควรทำเพราะ
ความหนาของโครเมียมจะทำให้ขนาดลำกล้องแคบลง ในทางใช้งานแล้วอาจมีปัญหาได้
ส่วนการชุบฮาร์ดโครมเป็นขั้นตอนที่มีประสิทธิภาพมากกว่าการชุบโครเมียมหลายเท่า คือ การชุบฮาร์ดโครมมีค่าความแข็งกว่าการชุบโครเมียม
การยึดติดกับผิวโลหะดีกว่าและทนทานต่อการใช้งานหนักดีกว่าการชุบโครเมียมครับ
บันทึกการเข้า

" ไม่มีความสุขใด ดีไปกว่าการใช้ชีวิต อย่างพอประมาณ "

รวมพล คนคบ .38 SUPER
http://www.gunsandgames.com/smf/index.php?topic=61789.0
...อภิสิทธิ์ ...
จะรักและซื่อสัตย์ต่อลูกโม่ S&W ตลอดไปชั่วฟ้าดินสลาย
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 652
ออฟไลน์

กระทู้: 3595



« ตอบ #13 เมื่อ: ธันวาคม 26, 2008, 03:15:40 PM »

ลูกโม่ของพ่อตาผมเป็น .22แม๊กนั่ม แกเอาไปยิงกระสุนลูกกรดจนตอนหลังยิงลูกแม๊กนั่มไม่ได้เลย ปลอกจะบวมคับโม่จนดันไม่ออกบางปลอกมีแตกด้วยครับ  ถ้าเอาไปทำ ฮาร์ดโครมจะแก้ปัญหาได้ไหมครับ
บันทึกการเข้า

There are experienced shooters who are just die-hard fans of revolvers. They do practice regularly and have had plenty of training, and for whatever reason they just prefer revolvers over semi-autos. And for the record, no, not all of them are dudes with gray hair.
c.tong - รักในหลวง
Hero Member
*****

คะแนน 205
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2739


ป่าต้นน้ำ คือ ชีวิต


« ตอบ #14 เมื่อ: ธันวาคม 26, 2008, 03:32:34 PM »

ที่แตกหรือบวมนี่ .22 แอลอา หรือ .22 แม็กฯ ครับที่เป็น
บันทึกการเข้า

" ไม่มีความสุขใด ดีไปกว่าการใช้ชีวิต อย่างพอประมาณ "

รวมพล คนคบ .38 SUPER
http://www.gunsandgames.com/smf/index.php?topic=61789.0
หน้า: [1] 2
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.086 วินาที กับ 22 คำสั่ง