เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
พฤศจิกายน 30, 2024, 09:40:43 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เวบบอร์ดอวป.เป็นเพียงสื่อกลางช่วยให้ผู้ซื้อ และผู้ขาย ได้ติดต่อกันเท่านั้นและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับประโยชน์หรือความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น
ประกาศหรือแบนเนอร์ในเวบไม่ใช่ตัวบ่งชี้ว่าสินค้านั้นมีคุณภาพหรือไม่
โปรดใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจซื้อด้วยตัวเอง
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 ... 304 305 306 [307] 308 309 310 ... 374
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: คลีนิคปืนลมและอะไหล่  (อ่าน 1095442 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 14 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
AJ_6080
พระราม2 กทม.
Hero Member
*****

คะแนน 1600
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5415


บารมี-มีได้เพราะความดี...


« ตอบ #4590 เมื่อ: ตุลาคม 31, 2012, 10:46:07 PM »

   ต้องขอโทษด้วยครับ  ไม่เคยนิ่งนอนใจครับ(ถ้าไม่ตาม ฮิฮิ คิก คิก คิก คิก  ไหว้ )
   ผมว่าเดิมๆ ดีอยู่แล้วครับ เยี่ยม เยี่ยม เยี่ยม

                 


เชื่อ พี่นายช่างดุกครับ เดิม ๆ ดีอยู่แล้ว

ยังไงช่วยเปลี่ยนลูกยาง เช็คเกลียวท่อลมที่จะขันเข้าปืนให้ด้วยนะครับ ไหว้

รู้สึกจะปีนเกลียว ยังไงไม่รู้ หลงรัก หลงรัก


     ส่งไปแล้วครับ  อีกอย่างหาโอริงที่ทน ซีโอทู  ไม่ได้ครับ เศร้า
              ต้องขอโทษด้วยครับ ไหว้

แบบนี้พอได้ไหมครับพี่ดุก พอดีสั่งซื้อมาไว้สำรอง 1 กล่องเป็นยางโอริง สีเขียว HNBR  เห็นเขาเขียนบอกไว้ครับ สำหรับงานแรงดันสูงและทนน้ำมันครับ

บันทึกการเข้า

  ผมรักในหลวง...ครับ
ผณิศวร เกิดในรัชกาลที่ ๙
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 1428
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6023



« ตอบ #4591 เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2012, 04:38:23 AM »

สำหรับวอลเธอร์ตระกูลนี้  เกลียวรับท่อมันละเอียดเกินไป ทำให้เสียง่ายครับ
ใช้ๆ ไป "เกลียวล้ม" สังเกตได้ที่เกลียวส่วนนอก 4-5 เส้นมันทำท่าเหมือนสนต้องลม

วิธีป้องกันคือ ตะไบเจ้าตุ่มเล็กๆ ตัวกดเปิดวาวลงไปให้เหลือเพียง 0.5 มม. และเวลาถอดท่อออกจากปืน พอขยับท่อออกรอบเดียว(วาวท่อปิดแล้ว)ให้ยิงทิ้งก๊าซที่ค้างในห้องลมออกครับ สังเกตเสียงพ่นก๊าซแต่ละนัดจะค่อยๆ เบาลงจนเงียบ  ทำอย่างนี้เกลียวจะใช้ได้ทนทานไม่มีล้ม
ถ้าถอดท่อแบบหมุนไปเรื่อยจนมันฟู่เอง แรงก๊าซดันตลอดเวลาครับ เกลียวด้านนอกถึงได้ลู่เพราะรับแรงมาก

กระบอกเก่าของผมเปลี่ยนตัวรับท่อเป็นเดือยเล็กเกลียวหนาแบบของสไตเออร์  กับเปลี่ยนวาวที่ท่อให้รับกัน  ใช้ได้ดี
บันทึกการเข้า

ผมเป็นลูกหลานจีนอพยพ  ทวดแซ่อิ๊ว ตาแซ่เล้า ปู่แซ่อึ๊ง   
เมืองไทยให้โอกาสทุกอย่าง  ไม่มีข้ออ้างเรื่องชนชั้น
ผมได้กราบแทบพระบาทในหลวงเป็นมงคลสูงสุดของชีวิต
sitta.
Hero Member
*****

คะแนน 488
ออฟไลน์

กระทู้: 7275


« ตอบ #4592 เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2012, 12:49:58 PM »

ในการใช้งานเกือบร้อยเปอร์เซน เกลียวจะล้มตอนหมุนเข้า
เปอร์เซนต์ที่เหลือจะล้มตอนหมุนออกซึ่งมีเงื่อนไขร่วมคือยังมีลมเต็มหลอด

เหตการณ์น่าจะเป็นลำดับอย่างนี้ (ผมเดาล้วนๆครับ)
1. เอาหลอดไปเติมลมเต็ม
2. เอาหลอดไปหมุนเข้าปืน
3. หมุนได้ 4 รอบ เดือยปืนยันเปิดวาวล์ที่หลอดลม (ตรงนี้เป็นเหตุผลว่าทำไมต้องตะไบเดือยให้สั้นลง)
4. แรงดันลมออกจากหลอด เกิดแรงดันถ่างตัวที่เกลียวโครงปืนกับเกลียวหลอดลม
5. ด้วยเกลียวเพิ่งหมุนเข้าได้ 4 รอบทำให้รับแรงได้ไม่ดีจึงเกิดการเอียงตัวหนีแรงดันถ่าง

จากข้อ 3  ถ้าตะไบเดือยให้สั้นลง จะทำให้หมุนเกลียวเข้าไปได้มากกว่าเดิม
และเมื่อแรงดันลมออกมา จำนวนเกลียวที่หมุนได้มากกว่าจะช่วยกันรับแรงได้ดีขึ้น

ในทำนองเดียวกันใช้ปืนไปจนแรงดันเหลือน้อย แล้วหมุนหลอดลมออกจะมีแรงดันถ่างตัวน้อยกว่า
ตอนหมุนเข้าซึ่งหลอดลมมีแรงอัดเต็มที่


บันทึกการเข้า
123 dog-dog
Hero Member
*****

คะแนน 1138
ออฟไลน์

กระทู้: 3794


« ตอบ #4593 เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2012, 04:49:51 PM »

   ต้องขอโทษด้วยครับ  ไม่เคยนิ่งนอนใจครับ(ถ้าไม่ตาม ฮิฮิ คิก คิก คิก คิก  ไหว้ )
   ผมว่าเดิมๆ ดีอยู่แล้วครับ เยี่ยม เยี่ยม เยี่ยม

                 


เชื่อ พี่นายช่างดุกครับ เดิม ๆ ดีอยู่แล้ว 

ยังไงช่วยเปลี่ยนลูกยาง เช็คเกลียวท่อลมที่จะขันเข้าปืนให้ด้วยนะครับ ไหว้

รู้สึกจะปีนเกลียว ยังไงไม่รู้ หลงรัก หลงรัก


     ส่งไปแล้วครับ  อีกอย่างหาโอริงที่ทน ซีโอทู  ไม่ได้ครับ เศร้า
              ต้องขอโทษด้วยครับ ไหว้

แบบนี้พอได้ไหมครับพี่ดุก พอดีสั่งซื้อมาไว้สำรอง 1 กล่องเป็นยางโอริง สีเขียว HNBR  เห็นเขาเขียนบอกไว้ครับ สำหรับงานแรงดันสูงและทนน้ำมันครับ



   +1 ในน้ำใจ หัวเราะร่าน้ำตาริน
บันทึกการเข้า
123 dog-dog
Hero Member
*****

คะแนน 1138
ออฟไลน์

กระทู้: 3794


« ตอบ #4594 เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2012, 05:06:06 PM »

ในการใช้งานเกือบร้อยเปอร์เซน เกลียวจะล้มตอนหมุนเข้า
เปอร์เซนต์ที่เหลือจะล้มตอนหมุนออกซึ่งมีเงื่อนไขร่วมคือยังมีลมเต็มหลอด

เหตการณ์น่าจะเป็นลำดับอย่างนี้ (ผมเดาล้วนๆครับ)
1. เอาหลอดไปเติมลมเต็ม
2. เอาหลอดไปหมุนเข้าปืน
3. หมุนได้ 4 รอบ เดือยปืนยันเปิดวาวล์ที่หลอดลม (ตรงนี้เป็นเหตุผลว่าทำไมต้องตะไบเดือยให้สั้นลง)
4. แรงดันลมออกจากหลอด เกิดแรงดันถ่างตัวที่เกลียวโครงปืนกับเกลียวหลอดลม
5. ด้วยเกลียวเพิ่งหมุนเข้าได้ 4 รอบทำให้รับแรงได้ไม่ดีจึงเกิดการเอียงตัวหนีแรงดันถ่าง

จากข้อ 3  ถ้าตะไบเดือยให้สั้นลง จะทำให้หมุนเกลียวเข้าไปได้มากกว่าเดิม
และเมื่อแรงดันลมออกมา จำนวนเกลียวที่หมุนได้มากกว่าจะช่วยกันรับแรงได้ดีขึ้น

ในทำนองเดียวกันใช้ปืนไปจนแรงดันเหลือน้อย แล้วหมุนหลอดลมออกจะมีแรงดันถ่างตัวน้อยกว่า
ตอนหมุนเข้าซึ่งหลอดลมมีแรงอัดเต็มที่




     ปัญหานี้ไม่เกิดกับ  steyr ครับ   steyrทำมาได้ดีมาก เวลาถอดท่อลมเข้าหรือออก  หรือตอนถอดออกจากถังอากาศ300บาร์หลังจากเติมลมเต็ม200บาร์ก็ตาม  แทบจะไม่มีแรงกดดันจากอากาศเลย หรือมีก็น้อยมากจนไม่รู้สึก  เปรียบเทียบกับตัวปล่อยลมของโย้ก(ใช้กับถัง200บาร์) เวลาจะปล่อยลมทิ้งยังมีแรงต้านกระทำกับเกลียวจนรู้สึกคลายน๊อตปล่อยลมลำบาก
    cz200s(s200) ก็ทำมาดีครับ 
บันทึกการเข้า
AJ_6080
พระราม2 กทม.
Hero Member
*****

คะแนน 1600
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5415


บารมี-มีได้เพราะความดี...


« ตอบ #4595 เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2012, 07:14:45 PM »

ถึงพี่ดุก...ตามมาให้ได้เรียบร้อยแล้วครับ Tap 1/4 X 32G  Wink Wink




ส่วนอันนี้เห็นว่ามันลดราคาก็เลยติดมือเอามาลองเคลือบลูกดูครับ... คิก คิก คิก คิก

บันทึกการเข้า

  ผมรักในหลวง...ครับ
sakda m41 รักในหลวง
Hero Member
*****

คะแนน 751
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2893



« ตอบ #4596 เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2012, 07:43:56 PM »

สำหรับวอลเธอร์ตระกูลนี้  เกลียวรับท่อมันละเอียดเกินไป ทำให้เสียง่ายครับ
ใช้ๆ ไป "เกลียวล้ม" สังเกตได้ที่เกลียวส่วนนอก 4-5 เส้นมันทำท่าเหมือนสนต้องลม

วิธีป้องกันคือ ตะไบเจ้าตุ่มเล็กๆ ตัวกดเปิดวาวลงไปให้เหลือเพียง 0.5 มม. และเวลาถอดท่อออกจากปืน พอขยับท่อออกรอบเดียว(วาวท่อปิดแล้ว)ให้ยิงทิ้งก๊าซที่ค้างในห้องลมออกครับ สังเกตเสียงพ่นก๊าซแต่ละนัดจะค่อยๆ เบาลงจนเงียบ  ทำอย่างนี้เกลียวจะใช้ได้ทนทานไม่มีล้ม
ถ้าถอดท่อแบบหมุนไปเรื่อยจนมันฟู่เอง แรงก๊าซดันตลอดเวลาครับ เกลียวด้านนอกถึงได้ลู่เพราะรับแรงมาก

กระบอกเก่าของผมเปลี่ยนตัวรับท่อเป็นเดือยเล็กเกลียวหนาแบบของสไตเออร์  กับเปลี่ยนวาวที่ท่อให้รับกัน  ใช้ได้ดี


ขอบคุณครับ ทุกท่าน

+1 อ.ผณิศวร  พี่นายช่าง  คุณหน่อง  และคุณสิทธาครับ ไหว้ ไหว้
บันทึกการเข้า
ผณิศวร เกิดในรัชกาลที่ ๙
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 1428
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6023



« ตอบ #4597 เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2012, 10:09:23 PM »

ที่คุณ Sitta ให้ความเห็นว่า เกลียวลู่เพราะรับแรงขณะหมุนท่อเข้า เดือยยาว วาวเปิดเร็วเกินควร... จริงครับ
และสำหรับปืน CO2 แรงดันขณะมีก๊าซเต็มท่อ ครึ่งท่อ หนึ่งส่วนสี่ท่อ  เท่ากันครับ  คือเกลียวนอกๆ รับแรงมากไม่ว่าขันเข้าหรือขันออกถ้าเดือยยาวเปิดวาวเร็ว ปิดวาวช้า

ไฟน์แวคบาว เกลียวเส้นใหญ่มากไม่มีอาการนี้  แต่รุ่น C20 ก้านวาวของท่อเป็นเหล็กแข็งกว่าตุ่มเปิดวาวที่เป็นอลูมิเนียม  ใช้ๆ ไปตุ่มสึกจนวาวไม่ยอมเปิด ก็จะพิการเหมือนกัน  วิธีป้องกันคือไม่ใช้ประแจขันท่อเข้าครับ  หมุนด้วยมือเปล่่า ได้แค่ไหนก็แค่นั้นไม่ต้องขันเข้าให้สุด  ยิงได้ไม่มีปัญหา  เวลาหมุนออกต้องใช้ประแจเพราะมีแรงดันก๊าซ

ปืน CO2 ที่ไม่มีปัญหาเรื่องเกลียวหรือเดือยกดเปิดวาว คือ สไตเออร์ กับ โมรินี ครับ
บันทึกการเข้า

ผมเป็นลูกหลานจีนอพยพ  ทวดแซ่อิ๊ว ตาแซ่เล้า ปู่แซ่อึ๊ง   
เมืองไทยให้โอกาสทุกอย่าง  ไม่มีข้ออ้างเรื่องชนชั้น
ผมได้กราบแทบพระบาทในหลวงเป็นมงคลสูงสุดของชีวิต
sakda m41 รักในหลวง
Hero Member
*****

คะแนน 751
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2893



« ตอบ #4598 เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2012, 10:30:02 PM »

ที่คุณ Sitta ให้ความเห็นว่า เกลียวลู่เพราะรับแรงขณะหมุนท่อเข้า เดือยยาว วาวเปิดเร็วเกินควร... จริงครับ
และสำหรับปืน CO2 แรงดันขณะมีก๊าซเต็มท่อ ครึ่งท่อ หนึ่งส่วนสี่ท่อ  เท่ากันครับ  คือเกลียวนอกๆ รับแรงมากไม่ว่าขันเข้าหรือขันออกถ้าเดือยยาวเปิดวาวเร็ว ปิดวาวช้า

ไฟน์แวคบาว เกลียวเส้นใหญ่มากไม่มีอาการนี้  แต่รุ่น C20 ก้านวาวของท่อเป็นเหล็กแข็งกว่าตุ่มเปิดวาวที่เป็นอลูมิเนียม  ใช้ๆ ไปตุ่มสึกจนวาวไม่ยอมเปิด ก็จะพิการเหมือนกัน  วิธีป้องกันคือไม่ใช้ประแจขันท่อเข้าครับ  หมุนด้วยมือเปล่่า ได้แค่ไหนก็แค่นั้นไม่ต้องขันเข้าให้สุด  ยิงได้ไม่มีปัญหา  เวลาหมุนออกต้องใช้ประแจเพราะมีแรงดันก๊าซ

ปืน CO2 ที่ไม่มีปัญหาเรื่องเกลียวหรือเดือยกดเปิดวาว คือ สไตเออร์ กับ โมรินี ครับ


ครับของผมมาใหม่ ๆ ก็ใช้มือหมุนท่อตามปกติ

หลัง ๆ ต้องใช้ปะแจช่วยขัน แต่พอขันไปได้สักระยะหนึ่ง ลมฟู่ ต้องคลายออก

แล้วหมุนท่อแบบ ระวัง ๆ ก็ใช้ได้ครับ
บันทึกการเข้า
Dunk
Moderator
Hero Member
*****

คะแนน 1657
ออฟไลน์

กระทู้: 4331



« ตอบ #4599 เมื่อ: พฤศจิกายน 03, 2012, 10:51:46 PM »

มาแล้วครับ พี่ดุก

บันทึกการเข้า

     
ผณิศวร เกิดในรัชกาลที่ ๙
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 1428
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 6023



« ตอบ #4600 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2012, 05:52:39 AM »

จาก 200 เป็น 300 บาร์ ต้องเลื่อนเวลาปิดจากตีสอง เป็นตีสาม ตามส่วน
บันทึกการเข้า

ผมเป็นลูกหลานจีนอพยพ  ทวดแซ่อิ๊ว ตาแซ่เล้า ปู่แซ่อึ๊ง   
เมืองไทยให้โอกาสทุกอย่าง  ไม่มีข้ออ้างเรื่องชนชั้น
ผมได้กราบแทบพระบาทในหลวงเป็นมงคลสูงสุดของชีวิต
sitta.
Hero Member
*****

คะแนน 488
ออฟไลน์

กระทู้: 7275


« ตอบ #4601 เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2012, 10:01:49 AM »

ในการใช้งานเกือบร้อยเปอร์เซน เกลียวจะล้มตอนหมุนเข้า
เปอร์เซนต์ที่เหลือจะล้มตอนหมุนออกซึ่งมีเงื่อนไขร่วมคือยังมีลมเต็มหลอด

เหตการณ์น่าจะเป็นลำดับอย่างนี้ (ผมเดาล้วนๆครับ)
1. เอาหลอดไปเติมลมเต็ม
2. เอาหลอดไปหมุนเข้าปืน
3. หมุนได้ 4 รอบ เดือยปืนยันเปิดวาวล์ที่หลอดลม (ตรงนี้เป็นเหตุผลว่าทำไมต้องตะไบเดือยให้สั้นลง)
4. แรงดันลมออกจากหลอด เกิดแรงดันถ่างตัวที่เกลียวโครงปืนกับเกลียวหลอดลม
5. ด้วยเกลียวเพิ่งหมุนเข้าได้ 4 รอบทำให้รับแรงได้ไม่ดีจึงเกิดการเอียงตัวหนีแรงดันถ่าง

จากข้อ 3  ถ้าตะไบเดือยให้สั้นลง จะทำให้หมุนเกลียวเข้าไปได้มากกว่าเดิม
และเมื่อแรงดันลมออกมา จำนวนเกลียวที่หมุนได้มากกว่าจะช่วยกันรับแรงได้ดีขึ้น

ในทำนองเดียวกันใช้ปืนไปจนแรงดันเหลือน้อย แล้วหมุนหลอดลมออกจะมีแรงดันถ่างตัวน้อยกว่า
ตอนหมุนเข้าซึ่งหลอดลมมีแรงอัดเต็มที่




     ปัญหานี้ไม่เกิดกับ  steyr ครับ   steyrทำมาได้ดีมาก เวลาถอดท่อลมเข้าหรือออก  หรือตอนถอดออกจากถังอากาศ300บาร์หลังจากเติมลมเต็ม200บาร์ก็ตาม  แทบจะไม่มีแรงกดดันจากอากาศเลย หรือมีก็น้อยมากจนไม่รู้สึก  เปรียบเทียบกับตัวปล่อยลมของโย้ก(ใช้กับถัง200บาร์) เวลาจะปล่อยลมทิ้งยังมีแรงต้านกระทำกับเกลียวจนรู้สึกคลายน๊อตปล่อยลมลำบาก
    cz200s(s200) ก็ทำมาดีครับ 

ผมไม่แน่ใจว่า ของสไตเออร์ หรือ ไฟแบกบาว จำไม่ค่อยได้ครับ
ช่วงการเติมลมเข้ากระบอกจะมีขั้นตอนแบบนี้ครับ
1. ถอดกระบอกออกจากปืน
2. นำมาหมุนเข้าที่อะแดปเตอร์ที่ต่อจากโยกบนถังดำน้ำ
3. ปล่อยลมจากถังดำน้ำ แรงอัดจะดันวาวล์ท่ออัดลมให้เปิดและเข้าไปในท่ออัดลมได้โดยไม่ต้องมีเดือยยันวาวล์
4. แรงดันเต็มหลอดแล้วก็ปิดวาวล์ถังดำน้ำ
5. หมุนวาวล์ระบายแรงดันตรงอะแดปเตอร์
6. เมื่อแรงดันในอะแดปเตอร์ลดลงก็สามารถหมุนท่ออัดลมออกได้โดยไม่มีแรงดันที่เกลียว

จากนั้นนำหลอดลมมาหมุนเข้าที่โครงปืน ซึ่งที่โครงปืนจะมีเดือยดันวาวล์
ซึ่งจะทำการยันวาวล์ตอนหมุนหลอดลมเข้าเหลืออีกไม่กี่เกลียว จึงทำให้รู้สึกว่าไม่กินแรง
และเกลียวทนทานกว่า 

จากการเติมลมแบบนี้ ก็ยังแพ้การเติมลมแบบควิกฟิลด์ซึ่งสะดวกกว่าและไม่มีการสึกหรอ
แต่ก็อย่างว่าได้อย่างก็ต้องเสียอย่าง การเติมลมแบบควิกฟิลด์ได้ความสะดวกและไม่มีการสึกหรอ
แต่ก็ต้องพกถังดำน้ำ  ส่วนการเติมลมแบบเปลี่ยนหลอดก็แค่พกหลอดสำรองไปอีก 1 หลอด
สะดวกกว่าพกถังดำน้ำครับ

บันทึกการเข้า
JR
Newbie
*

คะแนน 1
ออฟไลน์

กระทู้: 4


« ตอบ #4602 เมื่อ: พฤศจิกายน 05, 2012, 09:21:48 PM »

รบกวนสอบถามครับ หาผู้ขายหรือร้านจำหน่าย ซีลลูกสูบ (PISTON SEAL)กับสปริง(MAIN SPRING) ของ DIANA M48 ขอบคุณครับ
บันทึกการเข้า
นะครับ
Hero Member
*****

คะแนน 686
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1288


AIR ARMS S510TC .22 AA TDR FAC .177 HW97K .177


« ตอบ #4603 เมื่อ: พฤศจิกายน 05, 2012, 09:55:30 PM »

รบกวนสอบถามครับ หาผู้ขายหรือร้านจำหน่าย ซีลลูกสูบ (PISTON SEAL)กับสปริง(MAIN SPRING) ของ DIANA M48 ขอบคุณครับ
Grinติดต่อร้านน้าจุก Cheesyได้เลยครับ. เยี่ยม...ร้านเขามีผู้จัดการฝ่ายต่างประเทศ หลงรัก..สั่งให้ไม่เกิน 2 สัปดาห์ครับ เยี่ยม

http://www.gunsandgames.com/smf/index.php?topic=111406.0
บันทึกการเข้า

JR
Newbie
*

คะแนน 1
ออฟไลน์

กระทู้: 4


« ตอบ #4604 เมื่อ: พฤศจิกายน 06, 2012, 10:19:06 AM »

รบกวนสอบถามครับ หาผู้ขายหรือร้านจำหน่าย ซีลลูกสูบ (PISTON SEAL)กับสปริง(MAIN SPRING) ของ DIANA M48 ขอบคุณครับ
Grinติดต่อร้านน้าจุก Cheesyได้เลยครับ. เยี่ยม...ร้านเขามีผู้จัดการฝ่ายต่างประเทศ หลงรัก..สั่งให้ไม่เกิน 2 สัปดาห์ครับ เยี่ยม

http://www.gunsandgames.com/smf/index.php?topic=111406.0

ขอบคุณครับ
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 304 305 306 [307] 308 309 310 ... 374
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.077 วินาที กับ 25 คำสั่ง