ปลัดกลาโหมน้อยใจ กองทัพเมินซื้ออาวุธที่มีแบรนด์ไทย ต่างชาติกลับซื้อ
พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานในพิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาระบบจรวดหลายลำกล้อง ระหว่างกองทัพบกกับสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) โดยมี พล.ท.เอกชัย วัชระประทีป เจ้ากรมสรรพาวุธ และสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) เป็นผู้แทนกองทัพบก และมี พล.ท.ฐิตินันท์ ธัญญสิริ ผู้อำนวยการสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ร่วมพิธีลงนาม ที่สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ 7 มกราคม
พล.อ.อภิชาตกล่าวว่า จรวดหลายลำกล้องที่ได้วิจัยพัฒนาได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากมิตรประเทศ สามารถต่อยอดและวิจัยไปได้เร็วขึ้น แต่คงต้องใช้เวลา 1-2 ปี ถึงจะผลิตเข้าประจำการในกองทัพ จากนั้นจะต่อยอดการวิจัยไปสู่อาวุธนำวิถี ขณะเดียวกัน แผนยุทธศาสตร์และแผนแม่บทในการวิจัยพัฒนาอาวุธประเภทอื่น สถาบันจะปรับปรุงให้สอดคล้องกับคณะกรรมการบริหารและนำเข้าสู่การพิจารณาของสภากลาโหมในเดือนมกราคมนี้
"น่าน้อยใจที่ส่วนใหญ่ผู้ใช้จะไม่ค่อยมั่นใจในผลผลิตที่เกิดจากคนไทยด้วยกันเอง อย่างกรณีของบริษัทชัยเสรีหรือเลดี้แท็งค์ ที่ทำสายพานรถยานเกราะขายทั่วโลก 37 ประเทศรับซื้อหมดเว้นประเทศไทย ไปดูงานประเทศไหนในต่างประเทศ รถถังที่เอามาวิ่ง ส่วนหนึ่งของแทร็ค (ตีนตะขาบรถถัง) เขาจะพูดถึงประเทศไทย เป็นความภาคภูมิใจที่มีธงชาติไทยไปประดับอยู่ในงานดีเฟ้นด์ เอ็กซิบิชั่น ที่จัดขึ้นในหลายประเทศ สิ่งที่นำเสนอคือต้องการสร้างความเชื่อมั่นว่า สิ่งที่เราพยายามทำต้องการให้เกิดความเชื่อมั่นเชื่อถือกับคนไทยด้วยกัน" พล.อ.อภิชาต กล่าว
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1262870315&grpid=04&catid=01รถถังหรือรถเกราะนี่ผมว่าเราทำเองก็น่าจะดี เพราะมันยังสามารถผิดพลาดได้ไม่เหมือนเครื่องบินที่พลาดแล้วตกเกิดการสูญเสีย รถเกราะเรานำเข้าแต่เพียงปืนก็พอ เพราะไทยเรามีอุตสาหกรรมรถยนต์ที่แข็งแกร่งมาก โรงงานผลิตรถแทรกเตอร์เราก็มี โรงหล่อก็มี เกราะ composite ก็ทำได้ไม่ยากเท่าไหร่แต่ในความเป็นจริงแล้ว ภัยคุกคามรอบบ้านเรา เอาแค่เกราะเหล็กหล่อผสม polymer sheet และชั้น ceramic บวกกับเกราะปฏิกิริยาแบบ เกราะ t90 ก็หรูแล้ว แค่รถถัง หรือรถลำเลียงพลเราทำได้สบายมาก นำเข้าแต่เฉพาะปืนก็พอ คิดว่ารถถัง 1 คันต้นทุนเราไม่น่าจะเกิน 50 ล้านบาท ส่งเสริมอุตสาหรรมป้องกันประเทศด้วย ในวงเงินงบประมาณเท่ากันผมมั่นใจว่าผลิตเองย่อมดีกว่าไปซื้อ m60 เก่าๆ ที่จอดทิ้งไว้มาใช้แน่นอนเพราะเทคโนโลยีเกราะที่ไทยทำได้ในตอนนี้ย่อมเหนือกว่าเกราะเหล็กหล่อที่ผลิตเมื่อเกือบครึ่งศตวรรษที่แล้วแน่นอน หรืออย่างน้อยที่สุดหากจะซื้อmbtใหม่เอี่ยม แต่รถเกราะลำเลียงพลขนาด 10- 20 t น่าจะผลิตเองเพราะไม่ได้ใช้เทคโนโลยีเกราะขั้นสูงซื้อเฉพาะปืน 30 mm busmaster หรือ 40 mm bofors หรือ เกียต ก็ใช้ได้แล้วครับ ในความคิดส่วนตัว ปืน 40 mm นี่เหมาะมากสำหรับรถลำเลียงพล ไม่จำเป็นต้องติดmissile ต่อสู้รถถังอีกให้บำรุงรักษาและเล็งยิงยาก เพราะกระสุนขนาดนี้อัตรายิง 200 นัด/นาที ซึ่ง มีแบบ ชนวนเฉียดระเบิดและมีอัตรายิงเพียงพอที่จะ ยิงฮ. หรืออากาศยานบินระดับต่ำ และ อำนาจการยิงสูงพอจะทำลายที่มัน หรือทำลายยานเกราะด้วยกระสุน apfsds เจอจังๆหน้า หาก รถเกราะเล็งยิงได้ก่อนที่mbt จะหมุนป้อมปืนมาที่ตำแหน่งยิงได้กินเวลา 2.-3 วินาทีระยะ1-2 km. abram ก็ abram เถอะ เจอ กระสุน ชาโบต์ apfsds 40 mm สัก 2-3 วินาที 7-10 นัด(เทียบกับกระสุนdepleet uranium 30 mm จาก เครื่องบิน a10 50 นัด กับกระสุน apfsds 10 นัดapfsds น่าจะมีอำนาจทำลายสูงกว่า) ก็ท่าจะไม่รอดครับ
ป้อมปืน 40 mm.ของ giat และ spec.
This turret is designed for fitment to future reconnaissance vehicles and infantry fighting vehicles (in
particular EBRCs and FRESs). The turret demonstrator includes a mechanical structure, the 40 CTA cannon
with its linkless ammunition feed system, a stabilised aiming system, the electrical power, a panoramic
sight, a fire-control system and, when a suitable chassis is used, the gunners station.
The architecture of a remote-controlled turret with the crewmembers in the chassis enables to save weight
and space and, as a result, to enhance the survivability and mobility capabilities.
- 40 mm case telescoped ammunition cannon
(maximum rate of fire 200 rds/min).
- 7.62 mm secondary armament with two racks of
each 800 rounds.
- Electric laying:
. traverse: 360° ; 0.6 rad/s,
. elevation/depression: - 10° to + 45° ; 0.6 rad/s.
- Electrical power at 28 V.
- Stabilised in elevation and traverse.
- 3rd generation panoramic gunners sight.
- 68 ready-use rounds (eg., 51 HE and 17
APFSDS) with automatic loading (loading of the
selected type of ammunition from the first shot).
- First-round hit probability in a three-round burst:
. stationary target 2.3 m x 2.3 m: > 95%,
. moving target 4.6 m x 2.3 m: > 80%.
- Length: 2,160 mm.
- Width: 1,795 mm.
- Height: 538 mm (without panoramic sight).
- Gun-ring diameter: 1,475 mm.
- Weight/protection compromise according to the
customers requirement
http://www.giat-industries.fr/index.php?option=com_content&view=section&layout=categoryblog&id=15&Itemid=90&lang=en