เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
ตุลาคม 07, 2024, 11:34:38 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เว็บบอร์ด อวป. สามารถเข้าได้ทั้งสองทาง คือ www.gunsandgames.com และ www.gunsandgames.net ครับ
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 [2]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: อยากทำปุ๋ยหมักชีวภาพ....พูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านการเกษตร  (อ่าน 7067 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
submachine -รักในหลวง-
คนกินเหล้า อย่าให้เหล้ากินคน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 6127
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 55373


Let us go..!


« ตอบ #15 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2010, 12:05:21 PM »

ไคติน (Chitin) เป็นสารอินทรียที่เกิดตามธรรมชาติ มีปริ มาณมากเป็นอันดับสองของโลกรองจาก เซลลูโลส
พบในผนังเซลล์ของพืชบางชนิด สัตว์ และจุลินทรีย์ เช่น ในไดอะตอม ในยีสต์ ที่ ใช้ทํ าเบียร์ และในสัตว์ ที่ ไม่มี
กระดูกสันหลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสัตว์ที่มีเปลือกและ กระดอง เช่น หอย กุ้ง ปู และแกนปลาหมึก เป็นต้น
ไคโตซาน (Chitosan) คือโมเลกุลโพลิเมอร์ของ น้ําตาลกลู โคสที่มีหมู่ อะมิโน (NH2) มาประกอบ เรียกว่า
Poly amino glucose หรือ Poly (D-glucosamine) สูตร โมเลกุล [C6H12O4N]n น้ําหนักโมเลกุล [162.17]n
ไคโตซานเป็นอนุพันธ์ (Derivative) ชนิดหนึ่งของไคติน ที่ได้จากปฏิกิริยาการกําจัดหมู่อะเซทิล (CH3CO) ของ
ไคติน ด้วยสารละะลายด่างเข้มข้น เรียกว่า ปฏิกิริยาดีอะเซทิเลชัน (Deacetylation) ทําให้ โครงสร้างของไคติน
บางส่วนเปลี่ยนแปลงไปโดยเฉพาะหมู่ฟังก์ชันที่ มี ธาตุไนโตรเจน ในรูปของหมู่อะเซตามิโด (NH-CO-CH3)
เปลี่ยนไปเป็นหมู่อะมิโน (NH2) ที่คาร์บอนตําแหน่งที่ 2 ไคโตซานมีคุณสมบัติ เป็น Cationic polyelectrolyte
เนื่องจากไคโตซานมีหมู่อะมิโนอิสระ (NH2) ที่คาร์บอน ตําแหน่งที่ 2 ซึ่งมี ประจุบวกบนหมู่อะมิโนอิสระ และไค
โตซานสามารถจับกับสารที่มีประจุลบ จึงทําให้ละลายได้ใน สารละลายหลายชนิดที่ มีควาความเป็นกรด-ด่างใน
ช่วงที่เป็นกรด คือ pH น้อยกว่า 5.5 ไคโตซานจึงมีศักยภาพ ในการใช้ประโยชน์สูง


1. การผลิตไคติน นำเปลือกกุ้งมา
อบที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส จนกระทั่งน้ําหนักของเปลือกกุ้งคงที่
 ทําการกําจัดโปรตีน โดยนําเปลือกกุ้งมาทําปฏิกิริยากับสารละลาย
ด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เข้มข้น 8 เปอร์เซ็นต์
โดยการรีฟลักซ์ ในอัตราส่วน 1:6 โดยน้ําหนักต่อปริมาตร
ที่อุณหภูมิประมาณ 80-90 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2-3
ชั่วโมง จากนั้นกําจัดเกลือแร่ โดยนําเปลือกกุ้งที่กําจัด
โปรตีนทําปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ความ
เข้มข้น 8 เปอร์เซ็นต์ในอัตราส่วน 1:6 โดยน้ําหนักต่อ
ปริมาตรที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 24 ชั่วโมง


 2. การผลิตไคโตซาน
นําไคตินจากขั้นตอนที่1. มาทําปฏิกิริยากําจัดหมู่อะเซทิล โดยทําปฏิกิริยากับ
สาละลายด่างโซเดียมไฮดรอกไซดเข้มข้น 50 เปอร์เซ็นต์
โดยการรีฟลักซ์ ในอัตราส่วน 1:10 โดยน้ําหนักต่อปริมาตร
ที่อุณหภูมิประมาณ 90–120 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 -
5 ชั่วโมง

6. ล้างและทำให้แห้งและบดให้ละเอียดจะได้สารไคโตซาน (Chitosan) ในรูปผง


อันหลังนี่เป็นวิชาการกึ่งๆเคมีครับ
อยากบอกเพียงแค่ว่า เดี๋ยวนี้ เคมีและอินทรีย์อยู่ใกล้กันมาก
สารทางอินทรีย์บางอย่างก็ผ่านกระบวนการทางเคมีนะ อย่างเช่นไคโตซาน ที่ผลิตจากเปลือกกุ้งเปลือกปู
จะเรียกว่าเป็นเคมี หรืออินทรีย์ดี  Grin Grin Grin

อย่าคิดมากครับ คิดอย่างเดียวว่าไม่เป็นพิษตกค้างก็พอ  Grin Grin Grin
บันทึกการเข้า

อย่าเห็นเป็น ความดี เล็กน้อย แล้วไม่กระทำ
อย่าเห็นเป็น ความชั่ว เล็กน้อย แล้วจึงกระทำ

Thanut Wansuk

อาร์ พี จี.
(อาวุธพื้นๆ)
Hero Member
*****

คะแนน 739
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 8479


ถีบรถถีบกันเต๊อะ


« ตอบ #16 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2010, 01:00:55 PM »

ขอบคุณมากๆครับสำหรับทุกๆข้อมูล ไหว้......เจาะเวบไม่ค่อยถูกอยู่พอดี หากได้เรื่องยังไงจะมารายงานผลให้ทราบครับ Grin

ได้หัวเชื้อจุลินทรีย์ชนิดแห้งตามเว็บนี้ http://tawatchainakabut.multiply.com/journal/item/212  มาแล้วแบ่งกันบ้างนะครับ  Wink

ผมว่าจะลองทำดูแต่หาแกลบไม่ได้เลยครับ  ไม่รู้ว่าใช้อะไรแทนได้บ้าง  ไหว้


ยินดีครับ....ได้เรื่องยังไงจะกลับมารายงานครับ Grin


ใส่ต้นปาล์มน้ำมัน  แนะนำขี้เค้กปาล์มครับ  ซื้อเป็นรถ  ๖-๑๐ ล้อ  ใส่แล้วดินร่วนซุ่ยดี  เยี่ยม

ว่าจะลองอยู่เหมือนกัน....แถวสวนฯผมขาย3,500-(รถสิบล้อ) หากสั่ง3คันขึ้นเขาคิดคันละ3,000- Grin
บันทึกการเข้า

เวบบอร์ดมีไว้คลายเครียด อย่าซีเรียส..เดี๋ยว "บ้า"
อาร์ พี จี.
(อาวุธพื้นๆ)
Hero Member
*****

คะแนน 739
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 8479


ถีบรถถีบกันเต๊อะ


« ตอบ #17 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2010, 01:07:45 PM »

ที่ผมลองทำ ใช้ขุยมะพร้าว3 ส่วน ขี้ไก่ไข่  1 ส่วน  ปุ๋ยยูเรียนิดหน่อย   ใช้ พด รดครับ  ใช้กับสวนปาล์มไปครั้งนึงแล้วครับ  ไม่รู้ว่าดีรึเปล่า แต่เอาบางส่วนมาทำแปลงผักกวางตุ้ง พริกขี้หนู   กินผักไปสองรอบแล้วครับ


ขอบคุณครับ....ไม่ทราบพี่ปลูกอยู่แถวไหนครับ ของผมเป็นดินป่าพรุฯ ดินเปรี้ยว

ผักสวนครัวมีปลูกไว้เหมือนกัน แต่ก็ บู่ บู่

นี้ก็กะว่าจะยกร่องใหม่....เดี๋ยวไว้ถ่ายรูปที่ปลูกอยู่มาให้ชมครับ คิก คิก Grin
บันทึกการเข้า

เวบบอร์ดมีไว้คลายเครียด อย่าซีเรียส..เดี๋ยว "บ้า"
อาร์ พี จี.
(อาวุธพื้นๆ)
Hero Member
*****

คะแนน 739
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 8479


ถีบรถถีบกันเต๊อะ


« ตอบ #18 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2010, 01:12:07 PM »

ไคติน (Chitin) เป็นสารอินทรียที่เกิดตามธรรมชาติ มีปริ มาณมากเป็นอันดับสองของโลกรองจาก เซลลูโลส
พบในผนังเซลล์ของพืชบางชนิด สัตว์ และจุลินทรีย์ เช่น ในไดอะตอม ในยีสต์ ที่ ใช้ทํ าเบียร์ และในสัตว์ ที่ ไม่มี
กระดูกสันหลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสัตว์ที่มีเปลือกและ กระดอง เช่น หอย กุ้ง ปู และแกนปลาหมึก เป็นต้น
ไคโตซาน (Chitosan) คือโมเลกุลโพลิเมอร์ของ น้ําตาลกลู โคสที่มีหมู่ อะมิโน (NH2) มาประกอบ เรียกว่า
Poly amino glucose หรือ Poly (D-glucosamine) สูตร โมเลกุล [C6H12O4N]n น้ําหนักโมเลกุล [162.17]n
ไคโตซานเป็นอนุพันธ์ (Derivative) ชนิดหนึ่งของไคติน ที่ได้จากปฏิกิริยาการกําจัดหมู่อะเซทิล (CH3CO) ของ
ไคติน ด้วยสารละะลายด่างเข้มข้น เรียกว่า ปฏิกิริยาดีอะเซทิเลชัน (Deacetylation) ทําให้ โครงสร้างของไคติน
บางส่วนเปลี่ยนแปลงไปโดยเฉพาะหมู่ฟังก์ชันที่ มี ธาตุไนโตรเจน ในรูปของหมู่อะเซตามิโด (NH-CO-CH3)
เปลี่ยนไปเป็นหมู่อะมิโน (NH2) ที่คาร์บอนตําแหน่งที่ 2 ไคโตซานมีคุณสมบัติ เป็น Cationic polyelectrolyte
เนื่องจากไคโตซานมีหมู่อะมิโนอิสระ (NH2) ที่คาร์บอน ตําแหน่งที่ 2 ซึ่งมี ประจุบวกบนหมู่อะมิโนอิสระ และไค
โตซานสามารถจับกับสารที่มีประจุลบ จึงทําให้ละลายได้ใน สารละลายหลายชนิดที่ มีควาความเป็นกรด-ด่างใน
ช่วงที่เป็นกรด คือ pH น้อยกว่า 5.5 ไคโตซานจึงมีศักยภาพ ในการใช้ประโยชน์สูง


1. การผลิตไคติน นำเปลือกกุ้งมา
อบที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส จนกระทั่งน้ําหนักของเปลือกกุ้งคงที่
 ทําการกําจัดโปรตีน โดยนําเปลือกกุ้งมาทําปฏิกิริยากับสารละลาย
ด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เข้มข้น 8 เปอร์เซ็นต์
โดยการรีฟลักซ์ ในอัตราส่วน 1:6 โดยน้ําหนักต่อปริมาตร
ที่อุณหภูมิประมาณ 80-90 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2-3
ชั่วโมง จากนั้นกําจัดเกลือแร่ โดยนําเปลือกกุ้งที่กําจัด
โปรตีนทําปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ความ
เข้มข้น 8 เปอร์เซ็นต์ในอัตราส่วน 1:6 โดยน้ําหนักต่อ
ปริมาตรที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 24 ชั่วโมง


 2. การผลิตไคโตซาน
นําไคตินจากขั้นตอนที่1. มาทําปฏิกิริยากําจัดหมู่อะเซทิล โดยทําปฏิกิริยากับ
สาละลายด่างโซเดียมไฮดรอกไซดเข้มข้น 50 เปอร์เซ็นต์
โดยการรีฟลักซ์ ในอัตราส่วน 1:10 โดยน้ําหนักต่อปริมาตร
ที่อุณหภูมิประมาณ 90–120 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 -
5 ชั่วโมง

6. ล้างและทำให้แห้งและบดให้ละเอียดจะได้สารไคโตซาน (Chitosan) ในรูปผง


อันหลังนี่เป็นวิชาการกึ่งๆเคมีครับ
อยากบอกเพียงแค่ว่า เดี๋ยวนี้ เคมีและอินทรีย์อยู่ใกล้กันมาก
สารทางอินทรีย์บางอย่างก็ผ่านกระบวนการทางเคมีนะ อย่างเช่นไคโตซาน ที่ผลิตจากเปลือกกุ้งเปลือกปู
จะเรียกว่าเป็นเคมี หรืออินทรีย์ดี  Grin Grin Grin

อย่าคิดมากครับ คิดอย่างเดียวว่าไม่เป็นพิษตกค้างก็พอ  Grin Grin Grin



ขอบคุณน้าซับมากมายครับ ไหว้....มาเที่ยวหน้า รบกวนมาให้ถึงสวนฯผมนะ ไก่บ้าน ปลาดุก กบ(อันนี้ต้องโหล่)พร้อม สำหรับเชพซับ Grin
บันทึกการเข้า

เวบบอร์ดมีไว้คลายเครียด อย่าซีเรียส..เดี๋ยว "บ้า"
~ Sitthipong - รักในหลวง ~
"วาจาย่อมมีน้ำหนัก หากหนุนด้วยสรรพอาวุธ"
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 2953
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 23210



« ตอบ #19 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2010, 02:25:49 PM »

ใส่ต้นปาล์มน้ำมัน  แนะนำขี้เค้กปาล์มครับ  ซื้อเป็นรถ  ๖-๑๐ ล้อ  ใส่แล้วดินร่วนซุ่ยดี  เยี่ยม

ว่าจะลองอยู่เหมือนกัน....แถวสวนฯผมขาย3,500-(รถสิบล้อ) หากสั่ง3คันขึ้นเขาคิดคันละ3,000- Grin

ราคาสูงอยู่นะครับ  อยู่ำไกลจากโรงงานปาล์มน้ำมันมากเหรอครับ    พังงารถบรรทุก  ๖  ล้อเล็ก  ส่งถึงสวนอยู่ที่ ๘ ร้อย+- นิดหน่อยครับ   ไหว้ 

มีคนบอกมาว่าโรงงานขายอยู่ที่จอบเม็ึคโคละ ๕๐  บาท  เมื่อก่อนแจกฟรี  อ๋อย   เอามาใส่หน้าฝนจะเป็นหนอนเต็มเลยครับ 

เห็นคนรู้จักซื้อมากองใส่ต้นปาล์ม  พอโดนน้ำจะมีหนอนเกิดขึ้น  ไก่ที่เค้าเลี้ยงไว้มากินหนอนกันเต็มเลยครับ  ไม่ต้องให้อาหารไก่เลย  หลงรัก
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 09, 2010, 02:30:33 PM โดย ~ Sitthipong - รักในหลวง ~ » บันทึกการเข้า



...ไม่มีใครทำขาวให้เป็นดำ  หรือทำผิดให้เป็นถูกได้ตลอด...
submachine -รักในหลวง-
คนกินเหล้า อย่าให้เหล้ากินคน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 6127
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 55373


Let us go..!


« ตอบ #20 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2010, 04:08:40 PM »

ปุ๋งกี๋แบคโฮมีหลายขนาดครับ คตั้งแต่ต่ำกว่า1คิวจน1คิวกว่าๆ
บันทึกการเข้า

อย่าเห็นเป็น ความดี เล็กน้อย แล้วไม่กระทำ
อย่าเห็นเป็น ความชั่ว เล็กน้อย แล้วจึงกระทำ

Thanut Wansuk

korpat
คนน่ารัก มักใจร้าย
Hero Member
*****

คะแนน 119
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2457


« ตอบ #21 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2010, 01:06:13 AM »

ที่ผมลองทำ ใช้ขุยมะพร้าว3 ส่วน ขี้ไก่ไข่  1 ส่วน  ปุ๋ยยูเรียนิดหน่อย   ใช้ พด รดครับ  ใช้กับสวนปาล์มไปครั้งนึงแล้วครับ  ไม่รู้ว่าดีรึเปล่า แต่เอาบางส่วนมาทำแปลงผักกวางตุ้ง พริกขี้หนู   กินผักไปสองรอบแล้วครับ


ขอบคุณครับ....ไม่ทราบพี่ปลูกอยู่แถวไหนครับ ของผมเป็นดินป่าพรุฯ ดินเปรี้ยว

ผักสวนครัวมีปลูกไว้เหมือนกัน แต่ก็ บู่ บู่

นี้ก็กะว่าจะยกร่องใหม่....เดี๋ยวไว้ถ่ายรูปที่ปลูกอยู่มาให้ชมครับ คิก คิก Grin
ปลูกที่สุราษฏร์ครับ    ผมก็เพิ่งจะเริ่มปลูกปาล์มครับ  ปลูกมาสองปี  ปีแรกที่ปลูกลงตอนแรก แล้งมากครับ ต้นโทรมมาก พอหน้าฝน ฝนตกหนักจนน้ำท่วม   ท่วมอยู่หลายเดือนครับ  พอน้ำลด ปาล์มตายไปเยอะเลยครับ  ปลายปีที่แล้วปาล์มเริ่มสวยขึ้นหน่อย เจอแล้งอีก  ตายไปหลายต้นเลยครับ  นี่ก็เพิ่งใส่ปุ๋ยครับ  ใส่ปุ๋ยเสร็จเจอแมลงอีก เหนื่อยเลยครับ
บันทึกการเข้า

ผ่านมากี่ฝนยังทนไม่ได้  ไม่รู้ทำไมใจต้องหวั่นไหว
แค่เพียงความเหงาที่เข้ามากับฝน  แต่ว่ามันซึมไปถึงหัวใจ
~ Sitthipong - รักในหลวง ~
"วาจาย่อมมีน้ำหนัก หากหนุนด้วยสรรพอาวุธ"
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 2953
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 23210



« ตอบ #22 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2010, 07:44:19 AM »

ที่ผมลองทำ ใช้ขุยมะพร้าว3 ส่วน ขี้ไก่ไข่  1 ส่วน  ปุ๋ยยูเรียนิดหน่อย   ใช้ พด รดครับ  ใช้กับสวนปาล์มไปครั้งนึงแล้วครับ  ไม่รู้ว่าดีรึเปล่า แต่เอาบางส่วนมาทำแปลงผักกวางตุ้ง พริกขี้หนู   กินผักไปสองรอบแล้วครับ

ขอบคุณครับ....ไม่ทราบพี่ปลูกอยู่แถวไหนครับ ของผมเป็นดินป่าพรุฯ ดินเปรี้ยว

ผักสวนครัวมีปลูกไว้เหมือนกัน แต่ก็ บู่ บู่

นี้ก็กะว่าจะยกร่องใหม่....เดี๋ยวไว้ถ่ายรูปที่ปลูกอยู่มาให้ชมครับ คิก คิก Grin
ปลูกที่สุราษฏร์ครับ    ผมก็เพิ่งจะเริ่มปลูกปาล์มครับ  ปลูกมาสองปี  ปีแรกที่ปลูกลงตอนแรก แล้งมากครับ ต้นโทรมมาก พอหน้าฝน ฝนตกหนักจนน้ำท่วม   ท่วมอยู่หลายเดือนครับ  พอน้ำลด ปาล์มตายไปเยอะเลยครับ  ปลายปีที่แล้วปาล์มเริ่มสวยขึ้นหน่อย เจอแล้งอีก  ตายไปหลายต้นเลยครับ  นี่ก็เพิ่งใส่ปุ๋ยครับ  ใส่ปุ๋ยเสร็จเจอแมลงอีก เหนื่อยเลยครับ

ปกติแล้งมากกับฝนมากไม่น่าจะตายหลายต้นนะ   ที่ตายเพราะหนูกัดมากกว่าครับ   ตัดหญ้าให้เตียน ๆ หน่อย  หนูไม่กล้าออกมากัดต้นปาล์มครับ  Wink
บันทึกการเข้า



...ไม่มีใครทำขาวให้เป็นดำ  หรือทำผิดให้เป็นถูกได้ตลอด...
submachine -รักในหลวง-
คนกินเหล้า อย่าให้เหล้ากินคน
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 6127
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 55373


Let us go..!


« ตอบ #23 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2010, 09:51:46 AM »

หากต้นเล็กพอ น้ำท่วมนานๆเกินเดือนครึ่งตายครับ บ้านผมตอนปลูกก็เคยตายกะน้ำท่วมหลายต้น
แต่แล้งนานไม่ตาย จะทดคือโตช้า ต้นโตๆจะทนน้ำนานกว่า แต่พอน้ำแห้ง จะซ่อมแซมตัวเองอยู่
นานพอๆกัน กว่าจะโตต่อ

บางทีเห็นน้ำแห้ง แล้งแล้ว พอเข้าไปเดินในสวนปาล์ม กลายเป็นว่าเดินบนดินที่ยังชุ่มน้ำอยู่เลย
กว่าน้ำในดินจะงวดลงก็อีกนาน ขึ้นกะแสงตะวัน และฝนจะลงอีกหรือไม่ หากปาล์มยังเล็กทางปาล์มสั้น
โอกาสที่ตะวันส่องถึงดินมีเยอะ แห้งไว หากเป็นปาล์มโต ทางยาวแล้ว ตะวันส่องไม่ถึงดิน แห้งช้า
แต่ว่าปาล์มโตแล้วทนกว่าปาล์มเล็กเยอะ พูดง่ายๆ หากปาล์มโตแล้วเหมือนว่าวติดลมบน ไม่ท่วมเกิน2-3เดือน
อยู่ได้สบาย แต่ว่าผลผลิตอาจน้อยลงบ้าง ตามอุปสรรคที่เกิดครับ


บันทึกการเข้า

อย่าเห็นเป็น ความดี เล็กน้อย แล้วไม่กระทำ
อย่าเห็นเป็น ความชั่ว เล็กน้อย แล้วจึงกระทำ

Thanut Wansuk

korpat
คนน่ารัก มักใจร้าย
Hero Member
*****

คะแนน 119
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2457


« ตอบ #24 เมื่อ: มิถุนายน 12, 2010, 12:14:36 AM »

ปาล์มแถวที่ผมปลูก ส่วนใหญ่อายุยังไม่มากครับ บางสวนเพิ่งเริ่มเก็บผลผลิต  ช่วงน้ำท่วม ท่วมถึงทะลายเน่าคาต้นเยอะเลยครับ   
บันทึกการเข้า

ผ่านมากี่ฝนยังทนไม่ได้  ไม่รู้ทำไมใจต้องหวั่นไหว
แค่เพียงความเหงาที่เข้ามากับฝน  แต่ว่ามันซึมไปถึงหัวใจ
Southlander
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 5711
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 48212



« ตอบ #25 เมื่อ: มิถุนายน 12, 2010, 12:55:01 AM »

ที่บ้านลุงผม  มีร้านอาหารเขาอยู่ใกล้ ๆ   ติดสินบนคนงานในครัวเขาเอาไว้ เขาเอาหัวกุ้งสด  เปลือกกุ้งสดมาให้ทุกวัน วันละร่วมกิโล....

เริ่มแรก ก็หมักหัวเชื้อ พด.2 ธรรมดา กับกากน้ำตาล น้ำพอประมาณ(ไม่ได้ตวง  หัวเราะร่าน้ำตาริน ) หมักไว้ได้สัก 2 อาทิตย์ได้มั๊ง  แกก็เอาหัวกุ้งมาให้

เปิดพลาสติกคลุมฝาโอ่งก็ ใส่เลย .... (ตอนนั้น ไม่เหม็น แต่มีกลิ่นเล้ว)

สองเดือนผ่านไป  มันก็ถึงปากโอ่ง  เปิดดู กลิ่นไม่ดุอย่างที่คิด แต่ความเข้มข้น อื้อหือ แตะ ๆ โดนมือนี่ ล้างสิบน้ำก็ยังมีกลิ่น

หมักต่อไปอีกเดือน  แล้วเอาไปใช้  แจกกันซะทั่วหมู่บ้านเลย  มาตัก(ตักเอาเองนะ ทำหกถูกด่า...)ไป คนละขวดขาว เอาไปใช้

ผสมน้ำ 1 ต่อ 200 เลย  ไม่งั้นเข้มเกิน    ฉีดใบและโคนต้นทุก 15 วัน (ใช้ไม่เข้ม แต่ต้องขยันซ้ำ)  พืชเจริญดีมาก ดึงยอดได้ดีมากเลย

 กับน้ำหมักสูตรหัวกุ้ง.... ปูแดงก็ปูแดงเหอะ

ขี้ยางกะปุ๋ยสูตรนี้ และ รถบรรทุกปลาเป็ด อันไหนเหม็นกว่ากันครับ คิก คิก คิก คิก

และถ้ารถบรรทุกปลาเป็ด ชนกับ รถบรรทุกขี้ยาง เราจะทำไงดีคนขับก็เจ็บกันอยู่ทั้งสองคัน
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 12, 2010, 01:04:06 AM โดย SOUTHLANDER รักในหลวง » บันทึกการเข้า

๏ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง  แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง
ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง   จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง
                      
                             โดย:นภาลัย สุวรรณธาดา พศ.๒๕๑๐
หน้า: 1 [2]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.065 วินาที กับ 21 คำสั่ง