เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
ตุลาคม 05, 2024, 02:29:07 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 [2]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: รบกวนผู้รู้กฎหมาย ขอถามเรื่องปัญหาครอบครัว หน่อย ครับ  (อ่าน 2974 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 4 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
RMAY
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #15 เมื่อ: พฤศจิกายน 06, 2010, 07:00:59 PM »

ไม่ทรา่บว่าเพื่อนบัง นับถือศาสนาอิสลามหรือเปล่า และมีภูมิลำเนาอยู่ในสี่จังหวัด คือ ปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูลหรือเปล่า
 หากใช่ การขาดจากการสมรสระหว่างสามี ภริยา รวมทั้งการหย่าต้องเป็นไปตามหลักกฎหมายอิสลามด้วยนะครับ
ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. ๒๔๘๙
ตกใจ ตกใจครับ อิสลาม   ปัตตานี ครับ

มาตรา ๘๑ ตามหลักกฎหมายอิสลาม คู่สมรสขาดจากการสมรสได้ โดย
(๑) สามี หรือภริยาตาย
(๒) พิธีตอละก์
(๓) พิธีฟะซัค
(๔) พิธีสาบาน หรือ
 (๕) ตัดร์ฟะซัค
        ก.  กรณีเสพเมถุนนิรโทษ
        ข.  กรณีดื่มน้ำนม หรือ
‏        ค.  สามีหรือภริยาเป็นมุรตัด

บังพอเข้าใจไหมครับ เท่าที่ผมทราบการขาดจากการสมรส รวมทั้งเรื่องฟ้องหย่า เป็นไปประมาณนี้นะครับ Cheesy
ซึ่งหากเพื่อนบังมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตสี่จังหวัด และนับถืออิสลาม การสมรสทำไปตามพิธีที่กำหนดในกฎหมายอิสลาม
คดีเกี่ยวกับเรื่องครอบครัวและมรดก จะไม่ใช้ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

แต่จะต้องใช้หลักกฎหมายอิสลามครับ Grin
 
เดี๋ยวให้ คุณเมีย มาแปลให้ ครับ หัวเราะร่าน้ำตาริน หัวเราะร่าน้ำตาริน
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤศจิกายน 06, 2010, 10:53:09 PM โดย ศักดา. » บันทึกการเข้า
SingCring
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #16 เมื่อ: พฤศจิกายน 06, 2010, 07:08:35 PM »

งั้นบังลองศึกษาดูนะครับ Grin Grin

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้ กฎหมายอิสลามในเขตจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. ๒๔๙๘
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในการวินิจฉัยชี้ขาดคดีแพ่งเกี่ยวด้วยเรื่องครอบครัวและ มรดกอิสลามศาสนิกของศาลชั้นต้นในจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล ซึ่งอิสลามศาสนิกเป็นทั้งโจทก์จำเลยหรือเป็นผู้เสนอคำขอในคดีที่ไม่มีข้อพิพาท ให้ใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกบังคับแทนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยการนั้น เว้นแต่บทบัญญัติว่าด้วยอายุความมรดก ทั้งนี้ไม่ว่ามูลคดีเกิดขึ้นก่อนหรือหลังวันใช้พระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔ การพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นตามความในมาตรา ๓ ให้ดะโต๊ะยุติธรรมหนึ่งนายนั่งพิจารณาพร้อมด้วยผู้พิพากษา


ให้ดะโต๊ะยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม และลงลายมือชื่อในคำพิพากษาที่พิพากษาตามคำวินิจฉัยชี้ขาดนั้นด้วย
คำวินิจฉัยของดะโต๊ะยุติธรรมในข้อกฎหมายอิสลามให้เป็นอัน เด็ดขาดในคดีนั้น

มาตรา ๕ ให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ว่าด้วยการคัดค้านผู้พิพากษามาใช้บังคับแก่การคัดค้านดะโต๊ะยุติธรรมโดย อนุโลม
เมื่อมีเหตุที่ดะโต๊ะยุติธรรมปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้ ให้คู่ความตกลงกันเลือก อิสลามศาสนิกหนึ่งนายปฏิบัติหน้าที่แทนดะโต๊ะยุติธรรมเฉพาะคดี ถ้าตกลงกัน
ไม่ได้ให้ต่างเสนอชื่ออิสลามศาสนิกที่สมควรต่อผู้พิพากษาหัวหน้าศาลฝ่ายละ เท่า ๆ กันแต่ไม่ให้เกินฝ่ายละสามนาย เมื่อผู้พิพากษาหัวหน้าศาลเลือกผู้ใด จากรายชื่อที่คู่ความเสนอนั้น ให้ผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่แทนดะโต๊ะยุติธรรมเฉพาะ คดีนั้นได้

มาตรา ๖ บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ไม่กระทบถึงคดีที่ค้าง พิจารณาอยู่ในศาลในวันที่พระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่คดีนั้นเป็นคดีที่ค้างพิจารณา อยู่ในศาลชั้นต้น และคู่ความหรือผู้เสนอคำขอในคดีที่ไม่มีข้อพิพาทแล้วแต่กรณี ได้ร้องขอต่อศาลภายในสามสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บทบัญญัติ แห่งพระราชบัญญัตินี้บังคับ ในกรณีเช่นนี้ให้ศาลสั่งให้มีการเสนอคำฟ้องหรือ คำขอใหม่และให้ดำเนินการพิจารณาต่อไปตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา๗7 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ

พลเรือตรี ถ. ธำรงนาวาสวัสดิ์
นายกรัฐมนตรี

ส่วนเนื้อหาตามหลักกฎหมายอิสลาม ตามนี้ครับ Cheesy
http://www.lawreform.go.th/lawreform/images/th/legis/th/act/2484/30441.html
บันทึกการเข้า
RMAY
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #17 เมื่อ: พฤศจิกายน 06, 2010, 07:20:25 PM »

งั้นบังลองศึกษาดูนะครับ Grin Grin

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้ กฎหมายอิสลามในเขตจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. ๒๔๙๘
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในการวินิจฉัยชี้ขาดคดีแพ่งเกี่ยวด้วยเรื่องครอบครัวและ มรดกอิสลามศาสนิกของศาลชั้นต้นในจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล ซึ่งอิสลามศาสนิกเป็นทั้งโจทก์จำเลยหรือเป็นผู้เสนอคำขอในคดีที่ไม่มีข้อพิพาท ให้ใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกบังคับแทนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยการนั้น เว้นแต่บทบัญญัติว่าด้วยอายุความมรดก ทั้งนี้ไม่ว่ามูลคดีเกิดขึ้นก่อนหรือหลังวันใช้พระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔ การพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นตามความในมาตรา ๓ ให้ดะโต๊ะยุติธรรมหนึ่งนายนั่งพิจารณาพร้อมด้วยผู้พิพากษา


ให้ดะโต๊ะยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม และลงลายมือชื่อในคำพิพากษาที่พิพากษาตามคำวินิจฉัยชี้ขาดนั้นด้วย
คำวินิจฉัยของดะโต๊ะยุติธรรมในข้อกฎหมายอิสลามให้เป็นอัน เด็ดขาดในคดีนั้น

มาตรา ๕ ให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ว่าด้วยการคัดค้านผู้พิพากษามาใช้บังคับแก่การคัดค้านดะโต๊ะยุติธรรมโดย อนุโลม
เมื่อมีเหตุที่ดะโต๊ะยุติธรรมปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้ ให้คู่ความตกลงกันเลือก อิสลามศาสนิกหนึ่งนายปฏิบัติหน้าที่แทนดะโต๊ะยุติธรรมเฉพาะคดี ถ้าตกลงกัน
ไม่ได้ให้ต่างเสนอชื่ออิสลามศาสนิกที่สมควรต่อผู้พิพากษาหัวหน้าศาลฝ่ายละ เท่า ๆ กันแต่ไม่ให้เกินฝ่ายละสามนาย เมื่อผู้พิพากษาหัวหน้าศาลเลือกผู้ใด จากรายชื่อที่คู่ความเสนอนั้น ให้ผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่แทนดะโต๊ะยุติธรรมเฉพาะ คดีนั้นได้

มาตรา ๖ บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ไม่กระทบถึงคดีที่ค้าง พิจารณาอยู่ในศาลในวันที่พระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่คดีนั้นเป็นคดีที่ค้างพิจารณา อยู่ในศาลชั้นต้น และคู่ความหรือผู้เสนอคำขอในคดีที่ไม่มีข้อพิพาทแล้วแต่กรณี ได้ร้องขอต่อศาลภายในสามสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บทบัญญัติ แห่งพระราชบัญญัตินี้บังคับ ในกรณีเช่นนี้ให้ศาลสั่งให้มีการเสนอคำฟ้องหรือ คำขอใหม่และให้ดำเนินการพิจารณาต่อไปตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา๗7 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ

พลเรือตรี ถ. ธำรงนาวาสวัสดิ์
นายกรัฐมนตรี

ส่วนเนื้อหาตามหลักกฎหมายอิสลาม ตามนี้ครับ Cheesy
http://www.lawreform.go.th/lawreform/images/th/legis/th/act/2484/30441.html
ยิ่งอ่านยิ่งมึน ครับ น้าสิงห์  อ๋อย หัวเราะร่าน้ำตาริน หัวเราะร่าน้ำตาริน  แต่จะพยายามอ่าน ครับ ไหว้
บันทึกการเข้า
RMAY
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #18 เมื่อ: พฤศจิกายน 06, 2010, 07:37:49 PM »

                                                                            หมวด ๒

                                                          อำนาจปกครองและอำนาจเลี้ยงดู         

 มาตรา ๑๗๒  อำนาจเลี้ยงดูผู้ไร้ความสามารถ หรือผู้เยาว์นั้นอยู่แก่มารดา จนกว่าความ

ไร้ความสามารถ หรือความเป็นผู้เยาว์นั้นสุดสิ้นลง เว้นแต่มารดา

                        (๑) มีสามีใหม่ และสามีใหม่นั้นมิได้เป็นวลีอักร็อบของผู้ไร้ความสามารถหรือผู้เยาว์นั้น

                        (๒) ขาดคุณสมบัติ

                        (๓) ย้ายไปอยู่ต่างจังหวัดกับที่ผู้ไร้ความสามารถ หรือผู้เยาว์นั้นอยู่

                        (๔) ไม่รับเลี้ยงดูผู้ไร้ความสามารถ หรือผู้เยาว์นั้น

                        (๕) สูญไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ หรือ

                        (๖) ตาย


                       Grin  Grin ทั้ง กฏหมายไทย หรือ อิสลาม ก็ไม่ได้เหมือนกัน ครับ Grin Grin
บันทึกการเข้า
SingCring
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #19 เมื่อ: พฤศจิกายน 07, 2010, 12:26:43 AM »

ครับ ให้ดีลองปรึกษาโต๊ะอีหม่าม (ไม่รู้ถูกไหม) หรือบุคคลซึ่งได้รับเลือกเป็นดะโต๊ะยุติธรรมก่อนก็ได้ครับ
บันทึกการเข้า
RMAY
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #20 เมื่อ: พฤศจิกายน 07, 2010, 01:07:02 AM »

ครับ ให้ดีลองปรึกษาโต๊ะอีหม่าม (ไม่รู้ถูกไหม) หรือบุคคลซึ่งได้รับเลือกเป็นดะโต๊ะยุติธรรมก่อนก็ได้ครับ
เห็นว่าเมื่อหัวค่ำทางผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายคุยกันแล้ว ครับ  น้าสิงห์
ผมก็อวยพรให้เค้า เจอแต่ สิ่งที่ดีๆแล้ว กันครับ  ไหว้ 
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 [2]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.082 วินาที กับ 20 คำสั่ง