เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
พฤศจิกายน 29, 2024, 11:33:04 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 ... 16 17 18 [19] 20 21 22 ... 30
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: HP-200-Eco เครืองอัดอากาศและเรกกูเลเตอร์แรงดันสูงราคาประหยัด  (อ่าน 97799 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 18 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Thunder 65
Full Member
***

คะแนน 130
ออฟไลน์

กระทู้: 314



« ตอบ #270 เมื่อ: กรกฎาคม 03, 2011, 10:31:08 PM »


ไม่ต่างจากอากาศอัดที่ใช้กันครับ อย่าง CO2 เราก็ใช้แแค่แรงดัน

มีข้อดีกว่าอีกที่มีความชื้นต่ำ ไม่ทำปฏิกิริยากับพวกเหล็ก อลูมินั่ม ที่เป็นส่วนประกอบปืน

อาร์กอนใช้กับเครื่องเชื่อมโลหะ เพื่อปกคลุมผิวโลหะไล่ออกซิเจน ใช้เวลาเชื่อมพวกเหล็ก อลูมินั่ม ไม่ให้เกิดออกไซด์

ส่วนไนโตรเจนก็เช่นเดียวกัน ใฃ้ไล่ก๊าซพวกออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ครับ
ขอบคุณครับ แล้วสถานะของแก็สพวกนี้ที่เติมเข้าไปในหลอดแก็สปืน เมื่ออยู่ในหลอดแก็สปืนมีสถานะเป็นของเหลว หรือก๊าซครับ ถ้าเป็นของเหลวเติมด้วยวิธีการต่อสายมีเทคนิคในการเติมอย่างไรครับให้มีประสิทธิภาพสูงสุด  ซึ่งถ้าสถะนะภายในหลอดแก็สเป็นของเหลวการเติมจะยากลำบากอย่างมาก  HP-200 ก็น่าพอมีบทบาทได้บ้าง  สำหรับ  co2 และอาร์กอน แถวบ้านผมหาง่ายครับ เพราะเขาเอามาเชื่อม TIG กับ MIG ครับ  ต้องถามให้กระจ่างครับ ผมพอมีข้อมูลอยู่บ้างครับ แต่คนที่อ่านเวปนี้ไม่ได้มีแค่ผมคนเดียวครับ ผมก็เลยพิมพ์ยาวหน่อยเพื่อไม่ให้เกิดความสงสัยของคนอื่นครับ  ขอบพระคุณนะครับที่แบ่งความรู้ที่มีต่อสาธารณะชนครับ ไหว้

หาข้อมูลมาอ้างอิงครับ  Phase Diagramหาได้เฉพาะของ อา์ร์กอนครับ

อุณหภูมิเป็นหน่วย องศาเคลวิน (273 องศาเคลวิน = 0 องศาเซลเซียส)

ที่อุณหภูมิห้อง แรงดัน 250 บาร์ก็ยังอยู่ในสภาพก๊าซครับ



ส่วนไนโตรเจน หา Phase Diagram ไม่เจอครับ

แต่มีข้อมูลเรื่องการทำไนโตรเจนเหลวครับ

ต้องอัดให้ได้แรงดัน 3000 PSI ปล่อยผ่านท่อที่ลดอุณหภูมิลงครับ ระดับติดลบ(จุดเดือดของไนโตรเจนอยู่ที่ -198 องศาเซลเซียส) จะได้ไนโตรเจนเหลวครับ

ถ้าแรงดันระดับ 250 บาร์ที่เครื่อง HP200 อัดได้ ยังอยู่ในสถานะก๊าซครับ

และในอเมริกาเขาใช้ก๊าซไนโตรเจนแรงดัน 4500 PSI เติมปืนลมครับ
บันทึกการเข้า

0.22  Weihrauch HW100T 0.177 Weihrauch HW100TK
0.22  Diana 54
0.22  Edgun R3M Standard
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #271 เมื่อ: กรกฎาคม 04, 2011, 06:07:05 PM »


ไม่ต่างจากอากาศอัดที่ใช้กันครับ อย่าง CO2 เราก็ใช้แแค่แรงดัน

มีข้อดีกว่าอีกที่มีความชื้นต่ำ ไม่ทำปฏิกิริยากับพวกเหล็ก อลูมินั่ม ที่เป็นส่วนประกอบปืน

อาร์กอนใช้กับเครื่องเชื่อมโลหะ เพื่อปกคลุมผิวโลหะไล่ออกซิเจน ใช้เวลาเชื่อมพวกเหล็ก อลูมินั่ม ไม่ให้เกิดออกไซด์

ส่วนไนโตรเจนก็เช่นเดียวกัน ใฃ้ไล่ก๊าซพวกออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ครับ
ขอบคุณครับ แล้วสถานะของแก็สพวกนี้ที่เติมเข้าไปในหลอดแก็สปืน เมื่ออยู่ในหลอดแก็สปืนมีสถานะเป็นของเหลว หรือก๊าซครับ ถ้าเป็นของเหลวเติมด้วยวิธีการต่อสายมีเทคนิคในการเติมอย่างไรครับให้มีประสิทธิภาพสูงสุด  ซึ่งถ้าสถะนะภายในหลอดแก็สเป็นของเหลวการเติมจะยากลำบากอย่างมาก  HP-200 ก็น่าพอมีบทบาทได้บ้าง  สำหรับ  co2 และอาร์กอน แถวบ้านผมหาง่ายครับ เพราะเขาเอามาเชื่อม TIG กับ MIG ครับ  ต้องถามให้กระจ่างครับ ผมพอมีข้อมูลอยู่บ้างครับ แต่คนที่อ่านเวปนี้ไม่ได้มีแค่ผมคนเดียวครับ ผมก็เลยพิมพ์ยาวหน่อยเพื่อไม่ให้เกิดความสงสัยของคนอื่นครับ  ขอบพระคุณนะครับที่แบ่งความรู้ที่มีต่อสาธารณะชนครับ ไหว้

หาข้อมูลมาอ้างอิงครับ  Phase Diagramหาได้เฉพาะของ อา์ร์กอนครับ

อุณหภูมิเป็นหน่วย องศาเคลวิน (273 องศาเคลวิน = 0 องศาเซลเซียส)

ที่อุณหภูมิห้อง แรงดัน 250 บาร์ก็ยังอยู่ในสภาพก๊าซครับ



ส่วนไนโตรเจน หา Phase Diagram ไม่เจอครับ

แต่มีข้อมูลเรื่องการทำไนโตรเจนเหลวครับ

ต้องอัดให้ได้แรงดัน 3000 PSI ปล่อยผ่านท่อที่ลดอุณหภูมิลงครับ ระดับติดลบ(จุดเดือดของไนโตรเจนอยู่ที่ -198 องศาเซลเซียส) จะได้ไนโตรเจนเหลวครับ

ถ้าแรงดันระดับ 250 บาร์ที่เครื่อง HP200 อัดได้ ยังอยู่ในสถานะก๊าซครับ

และในอเมริกาเขาใช้ก๊าซไนโตรเจนแรงดัน 4500 PSI เติมปืนลมครับ
ขอบคุณครับ สำหรับคำตอบที่มีค่า ชัดเจนทุกแง่มุม  ข้อสรุปก็คือ  ก๊าซสองตัวนี้  ถ้าไม่ทำปฏิกริยากับน้ำมัน และซีล ที่ใช้ใน HP-200 ก็นับว่าเป็นทางที่คุ้มค่าอีกทางหนึ่งของการใช้งาน  เนื่องจากถ้าลองคิดในแง่มุมที่ผมน้ำเสนอนี้แล้วคือ
        ความคุ้มค่าของการใช้งานอยู่ที่  ถ้าเรามีทางเลือกคือถังดำน้ำที่บรรจุอากาศเต็ม    กับถังอาร์กอนที่บรรจุเต็มเหมือนกัน แต่จะแตกต่างกันตรงที่ อาร์กอนมีสถานะเป็นของเหลวเมืออยู่ในถัง  แน่นอน ครับ มวลของอาร์กอน มากกว่า ถังดำน้ำแน่นอนครับเพราะมันเป็นของเหลว แต่แรงดันอาจจะไม่ไ้ด้แต่เมือมาใช้คู่กับ HP-200 ซึ่่งจะมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อมวลของก๊าซที่บรรจุเข้าไปมีมาก  ก็เท่ากับว่า จะได้ประสิทธิภาพสูงสุดอย่างแน่นอนเมื่อเลือกใช้ เนื่องจากมวลมากกว่าครับ แต่ก็ต้องทำให้มันเป็นก๊าซก่อนเข้า HP-200 นะครับ
         ถ้าพิจารณาถึงราคาหรือต้นทุนของอาร์กอน    อาร์กอนสามารถหาได้ง่ายกว่า เนื่องจากมีการนำมาใช้เป็นก๊าซปลกคลุมรอยเชื่อมของระบบการเชื่อม TIG ซึ่งมีอยู่ทั่วไปในประเทศไทยครับ ทุกภาคหาได้  ถ้าจะถามถึงราคา  อ้างอิงราคาที่บ้านผมนะครับ    ราคาถังอาร์กอนพร้อมเนื้อถังเล็ก อยู่ที่ 2800 บาท ครับ ซึ่งถ้ารวมกับราคาเครื่อง ก็เท่ากับว่า เราจะมีต้นทุนในการที่จะเล่นปืน ไม่ว่าจะมีกี่กระบอกอยู่ที่ 12xxx โดยประมาณครับ แต่ถ้าใช้ถังดำน้ำต้นทุนก็จะอยู่ที่ราคาเครื่อง +ราคาถังดำน้ำครับ  ก็น่าจะประมาณ 20xxx ครับ  พูดอย่างเป็นกลางนะครับ ว่าอากาศก็น่าจะมีข้อดีที่มากกว่าอา์ร์กอนแน่นอน  แต่ก็มีข้อด้อยตรงที่ มันแรงดันสุงได้มวลน้อย หาที่เติมยาก และแรงดันจะลดลงเรื่อยๆเมื่อเติม  ถ้าเปรียบเทียบเรื่องน้ำหนัก สำหรับถังดำน้ำน่าจะเบากว่าอาร์กอนครับ เพราะวัสดุที่ใช้ทำ  และมวลที่น้อยกว่า
        แต่อาร์กอนเองมีข้อดีตรงที่ว่า   เราซื้อถังมาเอาไปเปลียนที่ร้าน ราคาสัก 300 บาท   ก็ได้มวลของอาร์กอนมาหลายกิโล  และที่สำคัญครับ  ถ้งอาร์กอนที่เราได้ไปเปลี่ยนมาเรามั่นใจได้เลยว่า ถังมันยังใช้การได้เนื่องจากบริษัทที่เติมก็ต้องผ่านการทดสอบมาแล้วก่อนเอามาขายให้เรา  เก่าใหม่ไม่สำคัญ แต่มันจะมีการทดสอบตามมาตรฐานต่างๆมาเรียบร้อยแล้ว เราก็มั่นใจไปอีกหลายประการครับ  แต่ถังดำน้ำจะอยู่กับเราไปตลอดอายุการใช้งาน มันก็น่าคิดอยู่นะครับ แต่ถังอาร์กอนก็หนักหน่อยครับเพราะมวลอีกทั้งยังทำจากเหล็ก
       ถ้านำข้อดี-เสียของอาร์กอนมา บวกลบคูณหารกับข้อดีข้อเสียของถังดำน้ำแล้ว    ก็ลองคิดดูนะครับ  ผมเองไม่มีความรู้มากพอที่จะฟันธงได้ว่า อะไรดีกว่าอะไร แต่ด้วยมุมมองที่ผมมอง ผมว่าอาร์กอนก็เป็นทางเลือกที่น่าสนใจครับตามเหตุผลที่กล่าวมา  แต่ก็ไม่รู้ว่าเคยมีใครลองใช้อาร์กอนแล้วหรือยัง  ถ้ามีแล้วก็แสดงความคิดเห็นด้วยครับ จะได้เป็นข้อมูลให้กับคนที่อ่านกระทู้นี้ได้ตัดสินใจครับ  บางครั้งมันอาจจะเป็นแรงกระตุ้นให้มีคนเล่นปืนลมหน้าใหม่เพิ่มมากขึ้นก็ได้ครับ(อย่างน้อยก็ผม1คนละครับ)   ราคาปืนก็ไม่เบาอยู่  อีกทั้งยังหาที่เติมยาก สำหรับผมแล้วมันคืออุปสรรค์ที่กระผมเองยังลังเลอยู่ครับ  แต่ด้วย HP-200 ผมเองตัดสินใจแล้วครับ 

หมายเหตุครับ******คำบรรยายที่กล่าวมานี้ขึ้นอยู่กับการทดสอบของคุณอู๋ครับ   ใครมีความคิดเห็นอย่างไรยกมือด้วยครับ ยิ้มีเลศนัย
บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
idea badlyn
Full Member
***

คะแนน 15
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 311



« ตอบ #272 เมื่อ: กรกฎาคม 05, 2011, 12:31:01 PM »

ยังเฝ้าดูอยู่นะครับ....อย่าเพิ่งเงียบสิครับ
 คิก คิก คิก คิก คิก คิก
 ไหว้
บันทึกการเข้า

สุดแต่ใจ(เกิน)จะไขว่คว้า.....0890917374 อาเล็ก
sitta.
Hero Member
*****

คะแนน 488
ออฟไลน์

กระทู้: 7275


« ตอบ #273 เมื่อ: กรกฎาคม 05, 2011, 02:49:01 PM »

อากาศที่เราหายใจ มีไนโตรเจนไป 70 เปอร์เซนต์แล้ว ถ้าจำไม่ผิดก็ประมาณนี้
ที่เหลืออีก 30 เปอร์เซนต์ก็เป็นอากาศเกือบหมด  เมื่อเป็นอย่างนี้ก็เท่ากับว่า.......
ความชื้นอยู่ใน 30 เปอร์เซนต์นี้เอง
บันทึกการเข้า
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #274 เมื่อ: กรกฎาคม 05, 2011, 04:35:07 PM »

อากาศที่เราหายใจ มีไนโตรเจนไป 70 เปอร์เซนต์แล้ว ถ้าจำไม่ผิดก็ประมาณนี้
ที่เหลืออีก 30 เปอร์เซนต์ก็เป็นอากาศเกือบหมด  เมื่อเป็นอย่างนี้ก็เท่ากับว่า.......
ความชื้นอยู่ใน 30 เปอร์เซนต์นี้เอง
ไ่ม่ทราบว่าอากาศในถังดำน้ำผ่านกระบวนการกำจัดความชื้นแล้วหรือยังครับ   แล้วเรื่องอาร์กอนมีความเห็นว่าอย่างไรครับ  มีไนโตรเจนแต่ไม่ 100 เปอร์เซนต์มันควบแน่นไ้ด้หรือเปล่าครับ  และ้ถ้าเติมเข้าไปในปืนเป็นของเหลวจะเกิดปัญหาอะไรตามมาบ้างครับ  เริ่มงงแล้วครับ ช่วยด้วยครับ
บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
SCUBAGUN
อสระ เสรี ซีคอน
ชาว อวป.
Jr. Member
****

คะแนน 22
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 45


คนทำลม


« ตอบ #275 เมื่อ: กรกฎาคม 05, 2011, 09:19:46 PM »

อากาศที่เราหายใจ มีไนโตรเจนไป 70 เปอร์เซนต์แล้ว ถ้าจำไม่ผิดก็ประมาณนี้
ที่เหลืออีก 30 เปอร์เซนต์ก็เป็นอากาศเกือบหมด  เมื่อเป็นอย่างนี้ก็เท่ากับว่า.......
ความชื้นอยู่ใน 30 เปอร์เซนต์นี้เอง
ไ่ม่ทราบว่าอากาศในถังดำน้ำผ่านกระบวนการกำจัดความชื้นแล้วหรือยังครับ   แล้วเรื่องอาร์กอนมีความเห็นว่าอย่างไรครับ  มีไนโตรเจนแต่ไม่ 100 เปอร์เซนต์มันควบแน่นไ้ด้หรือเปล่าครับ  และ้ถ้าเติมเข้าไปในปืนเป็นของเหลวจะเกิดปัญหาอะไรตามมาบ้างครับ  เริ่มงงแล้วครับ ช่วยด้วยครับ
เครื่องอัดอากาศ ของนักดำน้ำที่ใช้กัน ก่อนที่จะผ่านเข้าถัง ต้องผ่านการกระบวนการแยกคความชื้น และละอองน้ำมัน ต่อมาก็กลิ่น ( เอาคร่าวๆนะครับ ) อากาศที่ได้
ต้องแห้ง ไม่มีกลิ่น ไม่ต้องห่วงเรื่องของก๊าส ว่าจะมีโน้นเท่าไร นี่เท่าไร สรุปที่เราใช้กันก็คือแรงดัน ในการขับระบบของปืนลม ขอให้แห้งไม่มีความชื้นเป็นใช้ได้
ที่สำคัญที่สุด ระวัง....เรื่องของค่าออกซิเจน ออกซิเจนเพียวๆสามารถติดไฟ ( งานนี้มีระเบิด ) เมื่อมีการเสียดสี คาร์บอน ( โอริง ) เเละละอองน้ำมัน หันไปใช้อากาศ
ของนักดำน้ำดีที่สุด ส่วนประกอบของปืนลมทำด้วยโลหะ แต่ส่วนประกอบของมนุษย์ทำด้วย.....  ดังนั้นอากาศที่ใช้สำหรับหายใจสะอาดแน่นอนครับ 


* DSC03476 (Medium).JPG (69.79 KB, 800x600 - ดู 1030 ครั้ง.)
บันทึกการเข้า

*** จะรวยหรือจน มันก็คนเหมือนกัน ***
idea badlyn
Full Member
***

คะแนน 15
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 311



« ตอบ #276 เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2011, 09:12:48 AM »

 เยี่ยม เยี่ยม
ไหว้ ไหว้
บันทึกการเข้า

สุดแต่ใจ(เกิน)จะไขว่คว้า.....0890917374 อาเล็ก
sitta.
Hero Member
*****

คะแนน 488
ออฟไลน์

กระทู้: 7275


« ตอบ #277 เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2011, 10:15:29 AM »

อากาศที่เราหายใจ มีไนโตรเจนไป 70 เปอร์เซนต์แล้ว ถ้าจำไม่ผิดก็ประมาณนี้
ที่เหลืออีก 30 เปอร์เซนต์ก็เป็นอากาศเกือบหมด  เมื่อเป็นอย่างนี้ก็เท่ากับว่า.......
ความชื้นอยู่ใน 30 เปอร์เซนต์นี้เอง
ไ่ม่ทราบว่าอากาศในถังดำน้ำผ่านกระบวนการกำจัดความชื้นแล้วหรือยังครับ   แล้วเรื่องอาร์กอนมีความเห็นว่าอย่างไรครับ  มีไนโตรเจนแต่ไม่ 100 เปอร์เซนต์มันควบแน่นไ้ด้หรือเปล่าครับ  และ้ถ้าเติมเข้าไปในปืนเป็นของเหลวจะเกิดปัญหาอะไรตามมาบ้างครับ  เริ่มงงแล้วครับ ช่วยด้วยครับ
เครื่องอัดอากาศ ของนักดำน้ำที่ใช้กัน ก่อนที่จะผ่านเข้าถัง ต้องผ่านการกระบวนการแยกคความชื้น และละอองน้ำมัน ต่อมาก็กลิ่น ( เอาคร่าวๆนะครับ ) อากาศที่ได้
ต้องแห้ง ไม่มีกลิ่น ไม่ต้องห่วงเรื่องของก๊าส ว่าจะมีโน้นเท่าไร นี่เท่าไร สรุปที่เราใช้กันก็คือแรงดัน ในการขับระบบของปืนลม ขอให้แห้งไม่มีความชื้นเป็นใช้ได้
ที่สำคัญที่สุด ระวัง....เรื่องของค่าออกซิเจน ออกซิเจนเพียวๆสามารถติดไฟ ( งานนี้มีระเบิด ) เมื่อมีการเสียดสี คาร์บอน ( โอริง ) เเละละอองน้ำมัน หันไปใช้อากาศ
ของนักดำน้ำดีที่สุด ส่วนประกอบของปืนลมทำด้วยโลหะ แต่ส่วนประกอบของมนุษย์ทำด้วย.....  ดังนั้นอากาศที่ใช้สำหรับหายใจสะอาดแน่นอนครับ 

การอัดลมมีขั้นตอนเป็นอย่างไรครับ

1 อากาศผ่านกรองอากาศ  ผ่านดูดความชื้น เข้าระบบอัด  เข้าถังดำน้ำ

2 อากาศผ่านกรองอากาศ  เข้าระบบอัด  ผ่านดูดความชื้น เข้าถังดำน้ำ

แบบไหนครับ ขอบคุณครับ
บันทึกการเข้า
AJ_6080
พระราม2 กทม.
Hero Member
*****

คะแนน 1600
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5415


บารมี-มีได้เพราะความดี...


« ตอบ #278 เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2011, 10:22:18 AM »

ที่เคยเห็นน่าจะเป็น ข้อ 2  ครับ

เพราะเท่าที่เคยเห็นเครื่องอัดอากาศของ พี่หมาน ( พี่สิทธา คงรู้จัก) มีลูกสูบ 3 สูบ การทำงานคงจะเป็นแบบ 3 สเตท ครับ
และจะมีระบบถ่ายน้ำทิ้ง อยู่ที่ สเตท 2 และ สเตท 3 ครับ
 

บันทึกการเข้า

  ผมรักในหลวง...ครับ
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #279 เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2011, 10:44:54 AM »

สรุปว่า
1.เรารู้กระบวนการอัดอากาศเข้าถังดำน้ำแบบคร่าวๆ  ข้อสรุปของกระบวนการอัดอากาศและส่วนประกอบของอากาศที่เราหายใจ  ตอบเาว่าปลอดภัยแน่นอนใช่ไหมครับ  
2. แต่สำหรับอาร์กอน ยังไม่มีใครเคยใช้ใช่ไหมครับ  และยังไม่มีใครมีแนวคิดที่จะนำอาร์กอนมาใช้ในตอนนี้  ก็เลยไม่มีใครทราบว่าผลกระทบเมื่อนำมาใช้งานเป็นอย่างไร
3. แน่นอนว่า ไม่ว่าก๊าซใดๆ รวมถึงอาร์กอน และไนโตรเจน และอื่นๆ  ถ้าเราตั้งหน้าตั้งตาดมมันเข้าไป ก็น่าจะเป็นอันตรายแน่นอนใช่ใหม่ครับ
4. เราจะแก้ปัญหาที่บางคนมีกะตังและโอกาศอยู่แล้วไม่มีวันได้พบ อย่างเช่น ความยากลำบากในการเติมพลังงานให้ปืน  แต่สำหรับคนที่ไม่มีโอกาศเนื่องจากหาอุปกรณ์ไม่ได้จะเอาอะไรทดแทน เพื่อให้คนจนๆได้มีโอกาศไ้ด้เล่นกอล์ฟ  เพื่อให้พี่่น้องทางเชียงใหม่ได้เล่นกระดานโต้คลื่น  และเพื่อให้เป้ากระดาษทั่วประเทศ ไม่ว่าจะอยู่ซอกเขาหุบเขาไหนก็มีโอกาศโดนยิงได้เหมือนกัน  นกทุกตัวทั่วประเทศมีโอกาสตายด้วยปืนอัดลม เบอร์ 1-2 ได้เท่าๆกัน เราจะทำอย่างไร
5. และเพื่อให้สังคมของเราอุดมไปด้วยแนวทางอันเป็นไปได้ในการพัฒนา  ติเพื่อก่อ   ทำลายเพื่อสร้างสิ่งใหม่ที่ดีกว่า  และอยู่เพื่อจะถ่ายทอดความรู้ที่มีเพื่อให้บุคคลอื่นที่ยังไม่รุ้ได้มีโอกาศรู้ เรื่องบางเรื่องมันเป็นเรื่องที่หาจากตำราเรียนไม่ได้เช่นการประยุกต์ใช้งาน  และการพัฒนา ECRS  PDCA หรืออื่นๆมันก็แค่นั้นครับทำอะไรไม่ได้หรอกถ้าเราไม่รู้จักประยุกต์ใช้
                
          ขอให้กระดานของคนโง่เขลากระดานนี้อุดมไปด้วยความรู้จากผู้รู้ที่ยินดีถ่ายทอดนะครับ ชัดเจน จะถูกจะผิดก็ไม่่ว่ากันครับ  เพราะถ้าทุกคนมีจิตใจยินดีที่จะถ่ายทอดแน่นอน  คนที่เข้าใจผิด ก็จะได้ทราบว่ามันผิดตรงไหนและนำความรู้ความเข้าในนั้นไปทำการพัฒนากิจกรรมต่างๆของตัวเองให้ง่ายขึ้น    แน่นอน  ผู้รู้ก็มีจิตใจอิ่มเอิบที่ได้ช่วยเหลือให้ผุ้หลงเข้าใจผิด แต่ไม่ได้ทำผิด ให้ได้เข้าใจโลกตามความเป็นจริง  ต้องกราบขอบพระคุณปราชญ์ทุกท่านที่กรุณามาถ่ายทดความรู้ที่ตัวมีหรือค้นพบให้กับคนเขลาอย่างกระผมและคนอื่นๆได้รับทราบ  อย่างชัดเจน แจ่มชัด  แต่ไม่ใช่แสดงนะครับ  มีไว้สำหรับถ่ายทอด  ขอบพระคุณล่วงหน้าที่ทำให้สังคมเราน่าอยู่ขึ้นครับ
                                                    
                                                                                                                                             ขอบพระคุณในนามของผู้ไม่รู้ทุกท่านที่อ่านข้อความนี้ ไหว้
บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
sitta.
Hero Member
*****

คะแนน 488
ออฟไลน์

กระทู้: 7275


« ตอบ #280 เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2011, 10:57:27 AM »


กำลังเติมไนโตรเจนเหลวลงถัง งานนี้ไม่ต้องมีแรงดันอะไร เทเหมือนเทน้ำ



กระบอกใส่ไนโตรเจนเหลว



ปิดฝาไม่สนิท  ทำงานแบบนี้ต้องใส่ถุงมือ และเสื้อผ้าที่มิดชิด



ท่อส่งไนโตรเจนเหลวลงถัง



ปิดฝาไม่สนิทมันก็เป็นน้ำแข็งที่ฝาอย่างนั้น



คงจะทำจนชิน ผมเข้าไปดูรองเท้า เห็นว่าผิวรองเท้าเสียหมดจากไนโตรเจนเหลวที่กระเด็นไส่

ถามว่าอันตรายไหมถ้าสูดเข้าไป ผมว่าถ้าไม่นานก็ไม่เป็นไรนะ เห็นควันขาวฟุ้งไปหมด
ก็น่าจะมีอันตรายจากการสูดดมนะครับ
 
บันทึกการเข้า
SCUBAGUN
อสระ เสรี ซีคอน
ชาว อวป.
Jr. Member
****

คะแนน 22
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 45


คนทำลม


« ตอบ #281 เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2011, 03:26:44 PM »

สรุปว่า
1.เรารู้กระบวนการอัดอากาศเข้าถังดำน้ำแบบคร่าวๆ  ข้อสรุปของกระบวนการอัดอากาศและส่วนประกอบของอากาศที่เราหายใจ  ตอบเาว่าปลอดภัยแน่นอนใช่ไหมครับ  
2. แต่สำหรับอาร์กอน ยังไม่มีใครเคยใช้ใช่ไหมครับ  และยังไม่มีใครมีแนวคิดที่จะนำอาร์กอนมาใช้ในตอนนี้  ก็เลยไม่มีใครทราบว่าผลกระทบเมื่อนำมาใช้งานเป็นอย่างไร
3. แน่นอนว่า ไม่ว่าก๊าซใดๆ รวมถึงอาร์กอน และไนโตรเจน และอื่นๆ  ถ้าเราตั้งหน้าตั้งตาดมมันเข้าไป ก็น่าจะเป็นอันตรายแน่นอนใช่ใหม่ครับ
4. เราจะแก้ปัญหาที่บางคนมีกะตังและโอกาศอยู่แล้วไม่มีวันได้พบ อย่างเช่น ความยากลำบากในการเติมพลังงานให้ปืน  แต่สำหรับคนที่ไม่มีโอกาศเนื่องจากหาอุปกรณ์ไม่ได้จะเอาอะไรทดแทน เพื่อให้คนจนๆได้มีโอกาศไ้ด้เล่นกอล์ฟ  เพื่อให้พี่่น้องทางเชียงใหม่ได้เล่นกระดานโต้คลื่น  และเพื่อให้เป้ากระดาษทั่วประเทศ ไม่ว่าจะอยู่ซอกเขาหุบเขาไหนก็มีโอกาศโดนยิงได้เหมือนกัน  นกทุกตัวทั่วประเทศมีโอกาสตายด้วยปืนอัดลม เบอร์ 1-2 ได้เท่าๆกัน เราจะทำอย่างไร
5. และเพื่อให้สังคมของเราอุดมไปด้วยแนวทางอันเป็นไปได้ในการพัฒนา  ติเพื่อก่อ   ทำลายเพื่อสร้างสิ่งใหม่ที่ดีกว่า  และอยู่เพื่อจะถ่ายทอดความรู้ที่มีเพื่อให้บุคคลอื่นที่ยังไม่รุ้ได้มีโอกาศรู้ เรื่องบางเรื่องมันเป็นเรื่องที่หาจากตำราเรียนไม่ได้เช่นการประยุกต์ใช้งาน  และการพัฒนา ECRS  PDCA หรืออื่นๆมันก็แค่นั้นครับทำอะไรไม่ได้หรอกถ้าเราไม่รู้จักประยุกต์ใช้

                
          ขอให้กระดานของคนโง่เขลากระดานนี้อุดมไปด้วยความรู้จากผู้รู้ที่ยินดีถ่ายทอดนะครับ ชัดเจน จะถูกจะผิดก็ไม่่ว่ากันครับ  เพราะถ้าทุกคนมีจิตใจยินดีที่จะถ่ายทอดแน่นอน  คนที่เข้าใจผิด ก็จะได้ทราบว่ามันผิดตรงไหนและนำความรู้ความเข้าในนั้นไปทำการพัฒนากิจกรรมต่างๆของตัวเองให้ง่ายขึ้น    แน่นอน  ผู้รู้ก็มีจิตใจอิ่มเอิบที่ได้ช่วยเหลือให้ผุ้หลงเข้าใจผิด แต่ไม่ได้ทำผิด ให้ได้เข้าใจโลกตามความเป็นจริง  ต้องกราบขอบพระคุณปราชญ์ทุกท่านที่กรุณามาถ่ายทดความรู้ที่ตัวมีหรือค้นพบให้กับคนเขลาอย่างกระผมและคนอื่นๆได้รับทราบ  อย่างชัดเจน แจ่มชัด  แต่ไม่ใช่แสดงนะครับ  มีไว้สำหรับถ่ายทอด  ขอบพระคุณล่วงหน้าที่ทำให้สังคมเราน่าอยู่ขึ้นครับ
                                                    
                                                                                                                                             ขอบพระคุณในนามของผู้ไม่รู้ทุกท่านที่อ่านข้อความนี้ ไหว้
ไหว้ แบ่งปันกันครับ  เยี่ยม
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 06, 2011, 03:28:46 PM โดย SCUBAGUN » บันทึกการเข้า

*** จะรวยหรือจน มันก็คนเหมือนกัน ***
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #282 เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2011, 06:03:30 PM »

          ส ำหรับไนโตรเจนกระผมมีความเห็นว่าเป็นก๊าซที่อันตรายพอสมควรครับ ถ้าดูจากข้อมูลที่มี  โดยเฉพาะอุณหภูมิที่ต่ำขนาดนำมาใช้ในการทำความเย็น เรียกว่าเย็นสุดขั้วคงไม่ดีต่อวัสดุประเภทยาง  ถ้าการทดสอบเป็นไปอย่างน่าพอใจ  กระผมมีความเห็นว่าก๊าซนี้ไม่เหมาะกับการใช้งานกับHP-200 ครับ  เพราะการออกแบบและสร้างHP-200ทำด้วยเทคโนโลยีแบบ บ้านๆ วัดๆ ผมไม่ได้คำนึงการทำงานในสภาวะเย็นจัด(ประมาณว่าแอปซีโร่อะไรทำนองนั้น ขำก๊าก) หรือ สภาวะที่ก๊าซที่อัดเข้าไปมีความหนาแน่นสูงมากอย่างไนโตรเจนครับ 
          แต่ถ้าไม่เพ้อฝันเกินไป ผมมีความหวังกับอาร์กอนมากกว่าครับ(ความหวังของผมไม่ใช่ได้เงินสี่หมื่นล้านคืนครับ คิก คิก แต่อยากเล่นปืนที่ไม่โหดกับเจ้าของเกินไป ยิ้มีเลศนัย)  เพราะคุณสมบัติโดนใจ หาง่าย แต่ไม่มีใครกล้าลอง ไอ้ผมเองก็หมดไปหลายหมื่นกับ HP-200 ยังไม่มีตังพอไปทดลองอาร์กอนหรอกครับ เศร้า    แต่ถ้ามองคุณสมบัติจากข้อมุลที่คุณๆมาบอกเล่าและข้อมูลที่มีอยู่บ้าง ผมมีความเห็นว่า 
          ถ้ามองในเรื่องของความอันตรายของก๊าซ  มันก็มีนะครับ แต่มองว่า การยืนคุยโทรศัพท์ข้างๆรถที่ติดเครื่องอยู่อันตรายกว่ามาก จะเห็นว่าอาร์กอน ก็มีอยู่ในอากาศเราหายใจเข้าไปทุกวัน   ตามต่างจังหวัดร้านเชื่อมที่ใช้อาร์กอนก็ไม่มีบูทสำหรับดูดอากาศช่างเชื่อมก็ยังกินเหล้าเมาได้จนอายุ50 60 เขามีโอกาศสำผัสมากกว่าเรามากครับ  อีกประการ  สำหรับอุตสาหกรรมยุกใหม่สารเคมีทุกชนิดที่เป็นอันตราย ก็ได้มีมาตรฐานควบคุมไว้แล้วว่าอะไรควรใช้ที่ไหน  ลักษณะการทำงานของอาร์กอน กับ c02 ก็ไม่ต่างกันสำหรับงานเชื่อม  สำหรับco2บริสุทธิ์ถ้าเราได้รับเต็มๆ แบบว่าจัดใส่พานให้ถึงปอด  ไม่เกิน 4 นาทีครับตายแน่นอน ก่อนตายจะมีอาการมึนงง ร่างกายจะยิงกระตุ้นให้สูดลมหายใจเข้าแต่มันมีแต่co2 ล้วนๆสุดท้ายก็ยิ่งสูดยิงตาย โดนชก    น่ากลัวไหมครับ       แต่ด้วยประสบการณ์น้อยนิดในแวดวงนี้  ผมยังไม่เคยเห็นช่างเชื่อมMIG  TIG คนไหนตายด้วยก๊าซนี้ครับ  แต่ก็อาจจะมีนั่นแหละครับ
           co2 มันเบากว่าอากาศอันนี้กระผมว่าไม่เหมาะสม(แต่ก็ยังไม่มีใครกำลังเลงปืนco2แล้วตายเพราะสูดเข้าไปเต็มๆ หรือว่ามี ขำก๊าก)แต่อาร์กอน หนักกว่าอากาศครับ หมายความว่าถ้าไม่มีแรงอะไรมากระทำกับมัน คือปล่อยให้มันอยู่ในบรรยากาศมันก็จะตกลงด้านล่าง  เป็นก๊าซที่มีความหนาแน่นกว่าอากาศ นอกจากใช้ในงานเชื่อมแล้วยังใช้อีกหลากหลายมากๆ เช่น อุตสาหกรรมฉนวนกันความร้อน เป็นต้น
         ถ้ามองถึงโอกาศสำผัสนักเลงปืนลมทั้งหลายมีโอกาศน้อยมาก ถึงมากที่สุดที่จะสำผัสมัน  ก็ลองคิดดูนะครับ เราแทบไม่มีโอกาสจะสัมผัสมันโดยตรงเลย  แต่ก็มีบ้างแต่น้อยกมาก (ตามความคิดของผมนะครับ) โลกจะร้อนเพราะอาร์กอนไหมไม่รู้ครับ แต่ตัวมันเองมีคุณสมบัติอย่างที่บอกแหละครับ  แต่ระวังนะครับถ้าเอาไปยิงในห้องอบซาวน่าอันนี้อันตรายครับอาจตายคาอกได้ครับ ขำก๊าก
         ก็ว่ากันไปครับตามประสาคนคิดมาก คนชอบคิดอย่างเราๆ  เอาไว้ให้ฟื้นตัวจากการพัฒนาHP-200 ที่ยังไม่รู้ชะตาก่อนครับจะเก็บเงินค่าบุหรี่ซื้อปืนดีๆสักกระบอกเอาไว้แก้เหงาแต่ก็จะเอามาใช้กับ HP200+อาร์กอน หรือไม่ก็ HP-200+คอมเพรสเซอร์ละครับ  เพราะทำเองใช้เอง  พังก็พังเองไม่มีใครบ่นครับ ยิ้มีเลศนัย ไหว้
บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #283 เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2011, 07:36:29 PM »

 เศร้า

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 07, 2011, 08:22:31 PM โดย pramuan » บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
sitta.
Hero Member
*****

คะแนน 488
ออฟไลน์

กระทู้: 7275


« ตอบ #284 เมื่อ: กรกฎาคม 07, 2011, 09:05:19 AM »

สรุปว่า
1.เรารู้กระบวนการอัดอากาศเข้าถังดำน้ำแบบคร่าวๆ  ข้อสรุปของกระบวนการอัดอากาศและส่วนประกอบของอากาศที่เราหายใจ  ตอบเาว่าปลอดภัยแน่นอนใช่ไหมครับ   
2. แต่สำหรับอาร์กอน ยังไม่มีใครเคยใช้ใช่ไหมครับ  และยังไม่มีใครมีแนวคิดที่จะนำอาร์กอนมาใช้ในตอนนี้  ก็เลยไม่มีใครทราบว่าผลกระทบเมื่อนำมาใช้งานเป็นอย่างไร
3. แน่นอนว่า ไม่ว่าก๊าซใดๆ รวมถึงอาร์กอน และไนโตรเจน และอื่นๆ  ถ้าเราตั้งหน้าตั้งตาดมมันเข้าไป ก็น่าจะเป็นอันตรายแน่นอนใช่ใหม่ครับ
4. เราจะแก้ปัญหาที่บางคนมีกะตังและโอกาศอยู่แล้วไม่มีวันได้พบ อย่างเช่น ความยากลำบากในการเติมพลังงานให้ปืน  แต่สำหรับคนที่ไม่มีโอกาศเนื่องจากหาอุปกรณ์ไม่ได้จะเอาอะไรทดแทน เพื่อให้คนจนๆได้มีโอกาศไ้ด้เล่นกอล์ฟ  เพื่อให้พี่่น้องทางเชียงใหม่ได้เล่นกระดานโต้คลื่น  และเพื่อให้เป้ากระดาษทั่วประเทศ ไม่ว่าจะอยู่ซอกเขาหุบเขาไหนก็มีโอกาศโดนยิงได้เหมือนกัน  นกทุกตัวทั่วประเทศมีโอกาสตายด้วยปืนอัดลม เบอร์ 1-2 ได้เท่าๆกัน เราจะทำอย่างไร
5. และเพื่อให้สังคมของเราอุดมไปด้วยแนวทางอันเป็นไปได้ในการพัฒนา  ติเพื่อก่อ   ทำลายเพื่อสร้างสิ่งใหม่ที่ดีกว่า  และอยู่เพื่อจะถ่ายทอดความรู้ที่มีเพื่อให้บุคคลอื่นที่ยังไม่รุ้ได้มีโอกาศรู้ เรื่องบางเรื่องมันเป็นเรื่องที่หาจากตำราเรียนไม่ได้เช่นการประยุกต์ใช้งาน  และการพัฒนา ECRS  PDCA หรืออื่นๆมันก็แค่นั้นครับทำอะไรไม่ได้หรอกถ้าเราไม่รู้จักประยุกต์ใช้

                 
          ขอให้กระดานของคนโง่เขลากระดานนี้อุดมไปด้วยความรู้จากผู้รู้ที่ยินดีถ่ายทอดนะครับ ชัดเจน จะถูกจะผิดก็ไม่่ว่ากันครับ  เพราะถ้าทุกคนมีจิตใจยินดีที่จะถ่ายทอดแน่นอน  คนที่เข้าใจผิด ก็จะได้ทราบว่ามันผิดตรงไหนและนำความรู้ความเข้าในนั้นไปทำการพัฒนากิจกรรมต่างๆของตัวเองให้ง่ายขึ้น    แน่นอน  ผู้รู้ก็มีจิตใจอิ่มเอิบที่ได้ช่วยเหลือให้ผุ้หลงเข้าใจผิด แต่ไม่ได้ทำผิด ให้ได้เข้าใจโลกตามความเป็นจริง  ต้องกราบขอบพระคุณปราชญ์ทุกท่านที่กรุณามาถ่ายทดความรู้ที่ตัวมีหรือค้นพบให้กับคนเขลาอย่างกระผมและคนอื่นๆได้รับทราบ  อย่างชัดเจน แจ่มชัด  แต่ไม่ใช่แสดงนะครับ  มีไว้สำหรับถ่ายทอด  ขอบพระคุณล่วงหน้าที่ทำให้สังคมเราน่าอยู่ขึ้นครับ
                                                     
                                                                                                                                             ขอบพระคุณในนามของผู้ไม่รู้ทุกท่านที่อ่านข้อความนี้ ไหว้
ไหว้ แบ่งปันกันครับ  เยี่ยม

คำว่า "การรู้จักประยุกต์ใช้งาน"  มีความสำคัญมากครับ
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 16 17 18 [19] 20 21 22 ... 30
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.098 วินาที กับ 24 คำสั่ง