สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
คะแนน 3539
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 12903
|
|
« ตอบ #45 เมื่อ: กันยายน 17, 2005, 10:02:40 PM » |
|
ในความเห็นส่วนตัว ตัวแทนจำหน่ายบ้านเราแย่ ไม่ค่อยตามเรื่องหรือแจ้งเรื่องให้โรงงานทราบ โดยปกติแล้วถ้าอยากได้คำตอบเร็วๆ ผมจะemailส่งเรื่องให้เขาทราบก่อน และค่อยตามจี้กับตัวแทนจำหน่ายที่หลัง ผมว่าเรื่องนี้น่าจะทำให้โรงงานปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงให้การควบคุมการผลิตดีขึ้น ที่จริง ก่อนจะวิจารณ์ผู้แทนจำหน่ายในทางเสียหาย ควรจะสอบถามข้อเท็จจริงจากผมก่อน ไม่แปลกใจเลยหรือครับว่า ปืนเสียหายมากขนาดนี้ แล้วเอาไปแข่งได้อย่างไร ข้อเท็จจริง ก็คือผมยังไม่ได้ทำเรื่องเคลมเป็นทางการ เพราะแค่โทรศัพท์ไปบอก ผู้แทนจำหน่ายก็สั่งอะไหล่มาให้ทันที ถ้าเป็นชิ้นส่วนที่มีขายในบ้านเรา หรือถ้าใช้ของยี่ห้ออื่นจะได้คุณภาพดีกว่าของพารา ฯ ก็ไปเอาอะไหล่มาก่อน แล้วให้ไปเก็บเงินที่ผู้แทนจำหน่ายได้เลย ทั้ง ๆ ที่เงินประกัน 10% ของราคาปืน ก็ยังอยู่กับเรา
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
เสี่ยวหงส์
ชาว อวป.
Full Member
คะแนน 7
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 321
|
|
« ตอบ #46 เมื่อ: กันยายน 17, 2005, 10:52:17 PM » |
|
ปืน 25 กระบอก ยิงไปราวสองแสนนัด คงหมายถึงทั้ง ๒๕ กระบอก ยิงรวมกันแล้วประมาณสองแสนนัด ไม่ใช่ยิงกระบอกละสองแสนนัด
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เล่งชี้จี้ทง
|
|
|
เสี่ยวหงส์
ชาว อวป.
Full Member
คะแนน 7
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 321
|
|
« ตอบ #47 เมื่อ: กันยายน 17, 2005, 10:58:49 PM » |
|
โกหกครับ คงคิดว่าคนไทยไม่มีเครื่องมือทดสอบ หรือไม่กล้าทดสอบ เพราะกลัวปืนเป็นรอย ผมทดสอบความแข็งในโรงงานของคนไทย ซึ่งผลิตเครื่องจักรให้โรงงานอุตสาหกรรมภายในประเทศ และผลิตเพื่อการส่งออกด้วย มีเครื่องมือทันสมัยกว่าโรงงานพารา กับมียอดขายสูงกว่าพารา ราว ๆ ร้อยเท่าตัว
แสดงว่าผู้การทราบยอดจำหน่ายของพารา ไม่ทราบว่าประมาณเท่าใด
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เล่งชี้จี้ทง
|
|
|
โจ
Hero Member
คะแนน 51
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1368
|
|
« ตอบ #48 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 12:48:37 AM » |
|
ในส่วนนี้ผมขอโทษที่กล่าวตำหนิตัวแทนจำหน่ายในเมืองไทย (ผมยังไม่รู้เลยว่าเป็นใคร)
อย่างไรก็ตามผมไม่แปลกใจหรอกครับที่ปืนมีปัญหาแต่เอาไปยิงแข่งได้จนได้แชมป์ เพราะอะไหล่ปืน 1911 มีเยอะในเมืองไทย และ หาได้ทุกชิ้นจริงๆ และผมก็เห็นด้วยเรื่องอุปกรณ์แต่งปืนไม่ว่าจะเป็นสำนักไหน ดีกว่าของมาจากโรงงานแน่นอน เพราะชิ้นส่วนภายในของปืนผลิตโดยวิธี MIM ทำให้โดยปกติแล้ว ถ้าเป็นนักยิงแข่งขัน (บนเวปนี้มีหลายท่าน) บางท่านจะเปลี่ยนทันทีหลังจากซื้อปืนใหม่ (ชุดลั่นไก C&S, และแต่งไก หรือแต่งให้แม่นยำขึ้น) ซึ่งในจุดนี้ผมก็ไม่เถียงหรอกครับที่บอกว่าปืนพารา ถ้าเป็นปืนที่ซื้อเพื่อใช้งานก็เป็นปืนที่น่าใช้ แต่ที่ผมไม่ค่อยแน่ใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ก็คือ เรื่องโครงปืน และ สไลด์ เพราะถึงว่าเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของปืน และเปลี่ยนไม่ได้ สิ่งจุดนี้ต่างหากที่ทำให้ผมเป็นกังวล
ในปัจจุบันนี้มีหลายโรงงานที่เริ่มหันมาใช้ชิ้นส่วนที่ผลิตโดย MIM มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรงงานสมิธ หรือ โรงงานรูเกอร์ก็ตาม ซึ่งชิ้นส่วนดังกล่าวจะไม่สามารถทำ heat treatmentได้ดีเหมือนชิ้นส่วนที่ได้มาจากการกลึงขึ้นรูปแบบในอดีต
และอีกประการ จริงๆแล้วอุปกรณ์ปืนทุกตัวจะมีอายุการใช้งาน ส่วนที่บอกว่าจะใช้งานได้มากหรือไม่น้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพของชิ้นส่วนนั้นๆ รวมถึงการใช้และการดูแลที่ถูกวิธี อย่างรีคอลสปริงกับสปริงเข็มแทงชนวน จะได้รับการแนะนำให้เปลี่ยนทุกๆ 2000-3000 นัด สำหรับปืนที่ใช้ในการแข่งขัน แต่ถ้าเป็นปืนชาวบ้าน เราคงใช้จนกว่าจะพัง และอย่างปืนกล็อกที่ยิงเกิน 50000 นัด ถ้าไม่เปลี่ยนรีคอลสปริง เขย่าปืนแรงสไลด์ยังขยับได้เลย
สิ่งหนึ่งผมน่าจะเดาได้ถูกก็คงจะเป็นเรื่องกระสุนที่ใช้น่าจะเป็นกระสุนที่ทางผู้การสุพินท์กำหนดสเป็กแล้วอัดเอง และความเร็วกระสุนถ้าถึง Major factorในบ้านเรา ผมก็คงไม่แปลกใจว่าเหตุใด ชิ้นส่วนปืนถึงไปเร็วขนาดนี้ เพราะภูมิอากาศบ้านเราไม่มีสามารถโหลดจำนวนดินส่งได้เท่ากับที่หนังสือบอก จำเป็นต้องมากขึ้นเล็กน้อย เพราะความชื้นในอากาศจะมีผลต่อการจำนวนดินส่งที่ใช้ด้วย เลยอาจจะทำให้แรงรีคอลมากกว่าปกติ อย่างไรก็ตามในส่วนนี้เป็นเพียงการเดาและเป็นการตั้งสมมุติฐานขึ้นมาเอง ผิดพลาดประการใด ขอกราบขออภัยมานะที่นี่ด้วยครับ
อย่างไรก็ตามผมก็ยังอยากที่จะให้ผู้การบอกตัวแทนจำหน่ายแจ้งไปยังโรงงานอยู่ดีในเรื่องนี้ เพราะมันจะได้เป็นบรรทัดฐานในอนาคต อย่างที่โรงงานกล็อกย่อมให้เคลมเรื่องปืนมีปัญหาและมีการปรับปรุงให้ดีขึ้นด้วยครับ ขอบคุณครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
คะแนน 3539
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 12903
|
|
« ตอบ #49 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 07:16:18 AM » |
|
ปัญหาของ พารา มาจากการใช้ Sinter metal มากเกินไป ชิ้นส่วนหลายชิ้นที่ต้องการเหล็กเหนียว เช่นแป้นล็อคท้ายเข็ม, บูช, โตงเตง ก็ใช้ sinter, ศูนย์หลังดูเหมือนโบม่าร์ก็จริง แต่แป้นล็อคสกรูปรับซ้ายขวาเป็นอลูมินั่ม จึงชำรุดง่าย ขอรั้ง ฯ รุ่นใหม่ของพารา เป็นแบบเดียวกับ aftec (แต่ใช้แทนกันไม่ได้ ของพารา ใหญ่กว่า) ซึ่งเป็นการเลือกที่ผิดพลาด เพราะหน่วยงานที่เคยกำหนดให้ปืน 1911 ใช้ขอรั้ง aftec ก็เปลี่ยนมาใช้ขอรั้ง ฯ แบบเดิมของโคลท์ หลังจากหน่วยรบพิเศษของสหรัฐ พบว่าขอรั้ง aftec ทำให้ปืนติดขัดในอิรัค
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
iceman - รักในหลวง
Sr. Member
คะแนน 19
ออฟไลน์
กระทู้: 542
|
|
« ตอบ #50 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 07:54:00 AM » |
|
แล้วจริงหรือไม่ครับที่ว่าปืนสวัสดิการสเปกของเนื้อเหล็กต่างจากปืนพาณิชย์
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nattapol
บุคคลทั่วไป
|
|
« ตอบ #51 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 10:11:37 AM » |
|
ปัญหาของ พารา มาจากการใช้ Sinter metal มากเกินไป ชิ้นส่วนหลายชิ้นที่ต้องการเหล็กเหนียว เช่นแป้นล็อคท้ายเข็ม, บูช, โตงเตง ก็ใช้ sinter, ศูนย์หลังดูเหมือนโบม่าร์ก็จริง แต่แป้นล็อคสกรูปรับซ้ายขวาเป็นอลูมินั่ม จึงชำรุดง่าย ขอรั้ง ฯ รุ่นใหม่ของพารา เป็นแบบเดียวกับ aftec (แต่ใช้แทนกันไม่ได้ ของพารา ใหญ่กว่า) ซึ่งเป็นการเลือกที่ผิดพลาด เพราะหน่วยงานที่เคยกำหนดให้ปืน 1911 ใช้ขอรั้ง aftec ก็เปลี่ยนมาใช้ขอรั้ง ฯ แบบเดิมของโคลท์ หลังจากหน่วยรบพิเศษของสหรัฐ พบว่าขอรั้ง aftec ทำให้ปืนติดขัดในอิรัค
อ่านตรงนี้แล้วลองคิดทบทวนดู ผมคิดว่าปืนในรูปแบบ 1911 คุณปู่จอห์นฯ ออกแบบมาสมบูรณ์เต็มร้อยจริงๆ 1ศตวรรษให้หลังสิ่งที่เปลี่ยนแปลงมีแค่ลักษณะภายนอกเล็กๆน้อยๆ เท่านั้น( บางอย่างก็มีประโยชน์ บางอย่างก็แค่สวยงาม ) ไม่ว่าโลกของอาวุธปืนพกกึ่งอัตโนมัติจะก้าวไกลเพียงใดก็ตาม เสียงโหยหา 1911 ยังดังก้องไม่เสื่อมคลาย ปล. ขาย USP ดีก่า................
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
คะแนน 3539
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 12903
|
|
« ตอบ #52 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 11:44:31 AM » |
|
แล้วจริงหรือไม่ครับที่ว่าปืนสวัสดิการสเปกของเนื้อเหล็กต่างจากปืนพาณิชย์
ไม่จริงครับ ปืนรุ่นใหม่ ที่ใช้วิธีการผลิตแบบใหม่ เช่น GMP จะไม่มีเกรดเอ เกรดบี คุณภาพจะพอ ๆ กันทั้งหมด เพราะการจ้างผู้เชี่ยวชาญมาคัดเกรดปืน ก็เป็นการเพิ่มต้นทุน ซึ่งหมายถึงงานธุรการอื่น ๆ ที่เพิ่มขึ้นมากมาย อ่านตรงนี้แล้วลองคิดทบทวนดู ผมคิดว่าปืนในรูปแบบ 1911 คุณปู่จอห์นฯ ออกแบบมาสมบูรณ์เต็มร้อยจริงๆ 1ศตวรรษให้หลังสิ่งที่เปลี่ยนแปลงมีแค่ลักษณะภายนอกเล็กๆน้อยๆ เท่านั้น( บางอย่างก็มีประโยชน์ บางอย่างก็แค่สวยงาม )
ตรงนี้ผมไม่เห็นด้วย 1911 มีข้อดีมากก็จริง แต่ก็มีจุดอ่อนหลายที่ ปืนใหม่ที่ทีมยิงปืนจะนำมาใช้แทนพารา ก็ยังเป็น 1911 ไม่ใช่เพราะเป็นปืนที่สมบูรณ์แบบ แต่เป็นเพราะหาอะไหล่ง่าย มีให้เลือกเยอะ และตัวผมเอง ซึ่งเป็น หน.ฝ่ายเทคนิคก็คุ้นเคยกับปืนแบบนี้อยู่แล้วด้วย บางเรื่อง แค่ส่องกล้องดูกลุ่มกระสุนที่เป้า ยังไม่ต้องจับปืนก็รู้แล้วว่าต้องแก้ตรงไหน
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 18, 2005, 11:51:53 AM โดย สุพินท์ »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vichai01++รักในหลวง++
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 110
ออฟไลน์
กระทู้: 2775
|
|
« ตอบ #53 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 11:50:20 AM » |
|
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 18, 2005, 12:23:02 PM โดย vichai01 »
|
บันทึกการเข้า
|
คาถาป้องกันภัยพิบัติทั้งปวง ปะโตเมตัง ปะระชิวินัง สุขะโต จุติ จิตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ
|
|
|
Nattapol
บุคคลทั่วไป
|
|
« ตอบ #54 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 12:10:06 PM » |
|
อ่านตรงนี้แล้วลองคิดทบทวนดู ผมคิดว่าปืนในรูปแบบ 1911 คุณปู่จอห์นฯ ออกแบบมาสมบูรณ์เต็มร้อยจริงๆ 1ศตวรรษให้หลังสิ่งที่เปลี่ยนแปลงมีแค่ลักษณะภายนอกเล็กๆน้อยๆ เท่านั้น( บางอย่างก็มีประโยชน์ บางอย่างก็แค่สวยงาม )
ตรงนี้ผมไม่เห็นด้วย 1911 มีข้อดีมากก็จริง แต่ก็มีจุดอ่อนหลายที่ ปืนใหม่ที่ทีมยิงปืนจะนำมาใช้แทนพารา ก็ยังเป็น 1911 ไม่ใช่เพราะเป็นปืนที่สมบูรณ์แบบ แต่เป็นเพราะหาอะไหล่ง่าย มีให้เลือกเยอะ และตัวผมเอง ซึ่งเป็น หน.ฝ่ายเทคนิคก็คุ้นเคยกับปืนแบบนี้อยู่แล้วด้วย บางเรื่อง แค่ส่องกล้องดูกลุ่มกระสุนที่เป้า ยังไม่ต้องจับปืนก็รู้แล้วว่าต้องแก้ตรงไหน อ๋อ....เป็นอย่างนี้นี่เอง งั้นผมเก็บ USP ไว้เหมือนเดิมดีกว่าครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
คะแนน 3539
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 12903
|
|
« ตอบ #55 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 12:23:04 PM » |
|
..แล้วกับ CZละครับ ท่านผู้การปืนมีปัญหาหรือเปล่าครับ..
ซีแซดบางรุ่นมีจุดอ่อนที่เข็มแทงชนวน แล้วก็ระบบลั่นไก แบบซิงเกิลที่การเหนี่ยวไก จะยกนกปืนทำให้ไกหนักโดยใช่เหตุ ปีนี้ ทีมมาเลเซีย เปลี่ยนปืนพกมาเป็นซีแซด 85 แต่ทีมหญิงยังใช้ Vektor SP1 อยู่ ลองถามดูได้ความว่าใช้ซีแซด เพราะหวังผลที่ระยะ 50 ม. เบเร็ตต้าที่ว่าแน่ ๆ ปีนี้ทีมอินโดนีเซีย ก็เลิกใช้เหมือนกัน คืออินโด จะใช้บราวนิง HP เป็นปืนประจำการ และใช้เบเร็ตต้า 92 มาแข่ง แต่ปีนี้เปลี่ยนมาใช้ซิก 226 เพราะเบเร้ตต้ามีปัญหา แท่งขัดกลอนใต้ลำกล้องแตกหลายกระบอก จนนักยิงปืนไม่ไว้ใจ เว็คเตอร์ กับซีแซดของมาเลเซีย [ไฟล์แนบถูกลบโดยผู้ดำเนินการ]
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 18, 2005, 12:33:47 PM โดย สุพินท์ »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nattapol
บุคคลทั่วไป
|
|
« ตอบ #56 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 12:27:14 PM » |
|
งั้นผมขออนุญาตรบกวนถามบ้างว่า USP มีปัญหาไหมครับผู้การ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vichai01++รักในหลวง++
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 110
ออฟไลน์
กระทู้: 2775
|
|
« ตอบ #57 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 12:29:08 PM » |
|
..แล้วกับ CZละครับ ท่านผู้การปืนมีปัญหาหรือเปล่าครับ..
ซีแซดบางรุ่นมีจุดอ่อนที่เข็มแทงชนวน แล้วก็ระบบลั่นไก แบบซิงเกิลที่การเหนี่ยวไก จะยกนกปืนทำให้ไกหนักโดยใช่เหตุ ปีนี้ ทีมมาเลเซีย เปลี่ยนปืนพกมาเป็นซีแซด 85 แต่ทีมหญิงยังใช้ Vektor SP1 อยู่ ลองถามดูได้ความว่าใช้ซีแซด เพราะหวังผลที่ระยะ 50 ม. เบเร็ตต้าที่ว่าแน่ ๆ ปีนี้ทีมอินโดนีเซีย ก็เลิกใช้เหมือนกัน คืออินโด จะใช้บราวนิง HP เป็นปืนประจำการ และใช้เบเร็ตต้า 92 มาแข่ง แต่ปีนี้เปลี่ยนมาใช้ซิก 226 เพราะเบเร้ตต้ามีปัญหา แท่งขัดกลอนใต้ลำกล้องแตกหลายกระบอก จนนักยิงปืนไม่ไว้ใจ ..แสดงว่าระยะ 50 เมตร CZ กินหมดใช่ไหนครับ(ถ้าคนยิงคนเดียวกัน)..
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
คาถาป้องกันภัยพิบัติทั้งปวง ปะโตเมตัง ปะระชิวินัง สุขะโต จุติ จิตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ
|
|
|
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
คะแนน 3539
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 12903
|
|
« ตอบ #58 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 12:37:16 PM » |
|
งั้นผมขออนุญาตรบกวนถามบ้างว่า USP มีปัญหาไหมครับผู้การ ระวังหมาแทะ MA5 ของพม่า (บราวนิง HP ที่ผลิตในพม่า) โตกาเรฟ TT33 ของเวียดนามกับลาว เสียงดังที่สุดในสนาม แต่นาน ๆ ก็ดัง ฟูด เสียที กระสุนคงเก่ามาก [ไฟล์แนบถูกลบโดยผู้ดำเนินการ]
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
coda
None of us is as smart as all of us.
ชาว อวป.
Hero Member
คะแนน 1081
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 20779
เว็บไซต์
|
|
« ตอบ #59 เมื่อ: กันยายน 18, 2005, 12:39:55 PM » |
|
...กริ๊ปแบบนี้น่ากลัวสไลด์ถอยมาฉีกนิ้ว :
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|